Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/95
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระมหาโกมล กมโล, พระเมธีวรญาณ, ดร. ผศ.ดร.-
dc.contributor.authorพระมหาสุรชัย วราสโภ, พระมหาสมลักษณ์ คนฺธสาโร, ดร. ดร.-
dc.contributor.authorพระมหาภูมิชาย อคฺคปญฺโ , พระราชวชิรดิลก, ดร. ดร.-
dc.date.accessioned2021-07-23T04:03:40Z-
dc.date.available2021-07-23T04:03:40Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/95-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ (๑) เพื่อศึกษาความเป็นมาและความส าคัญของรตนสูตร (๒) เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาคัมภีร์สัททาวิเสส (๓) เพื่อศึกษาวิเคราะห์บทบาลีในรตนสูตร ตาม แนวคัมภีร์สัททาวิเสส เป็นการวิจัยเชิงเอกสารโดยมีวิธีด าเนินการวิจัย คือ น ารตนสูตรชั้นปฐมภูมิ คือ พระไตรปิฎก อรรถกถา ที่เป็นภาษาบาลีแปลเป็นภาษาไทย มีการวิเคราะห์บทบาลีในรตนสูตรตาม แนวคัมภีร์สัททาวิเสส ในด้านหลักภาษา พจนานุกรม ฉันทลักษณ์ และอลังการ ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษาประวัติความเป็นมาและความส าคัญของรตนสูตรท าให้ ทราบค าว่า รตน มีความหมาย ๓ อย่าง คือ มาตราวัด แก้วแหวนเงินทอง และความประเสริฐ ในรตน สูตรนี้ หมายถึงพระพุทธพจน์ที่กล่าวถึงคุณของพระรัตนตรัย คือ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และ พระสังฆคุณ ซึ่งปรากฏอยู่ในพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะและขุททกนิกาย สุตตนิบาต รตนสูตรเป็นพระพุทธพจน์ที่ว่าด้วยคุณค่าและอานุภาพของพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นพระสูตรที่พระพุทธเจ้าประทานแก่ชาวเมืองเวสาลี เมื่อคราวประสบ วิกฤตการณ์ต่าง ๆ เนื้อความกล่าวถึงคุณของพระรัตนตรัยอันที่เป็นที่พึ่งทางใจอันเกษม และเน้น คุณธรรมที่สามารถน้อมมาร าลึกถึงและปฏิบัติตามได้ คือลดละกิเลสให้จางคลายไปโดยล าดับ โดย น าเอาพระคุณที่อยู่ในพระรัตนตรัยมาเป็นแนวทางและเป้าหมายในการปฏิบัติ เช่น สมาธิคุณอัน ยิ่งใหญ่ของพระพุทธเจ้าและการปฏิบัติตนของพระสงฆ์อันเรียบง่ายไม่มีบาปให้ปกปิด รตนสูตรพระ พุทธพจน์นี้แสดงให้เห็นว่า ชีวิตที่มีคุณค่าตามหลักพระพุทธศาสนานั้นต้องลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง โดยมีแก่นแท้อยู่ที่การขจัดความเห็นแก่ตัวลงโดยล าดับจนหมดสิ้นไป จึงจะเข้าถึงพระนิพพานอันเป็น คุณค่าสูงสุดได้ คัมภีร์บาลีกลุ่มสัททาวิเสสอันเป็นคัมภีร์พื้นฐานการศึกษาพระไตรปิฎก มีความจ าเป็น อย่างมากที่จะต้องศึกษาหลักภาษาให้เข้าใจอย่างละเอียดลึกซึ้งตามคัมภีร์หลักกลุ่มสัททาวิเสสให้ ครบถ้วนเสียก่อน ค าว่า สัททาวิเสส แปลว่า ไวยากรณ์พิเศษ คือ กลุ่มไวยากรณ์ภาษาบาลีที่เป็นหลัก ส าคัญในการศึกษาเรียนรู้และวินิจฉัยค้นคว้าหลักธรรมในพระไตรปิฎก แบ่งออกได้ ๔ ประเภท คือ ข ๑) กลุ่มคัมภีร์ที่เป็นไวยากรณ์แสดงหลักภาษา มีคัมภีร์กัจจายนะ เป็นต้น ๒) กลุ่มคัมภีร์พจนานุกรม ศัพท์มีคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกา เป็นต้น ๓) กลุ่มคัมภีร์ฉันทลักษณ์ กฎเกณฑ์วางค าครุและลหุเป็นแบบ ต่าง ๆ มีคัมภีร์วุตโตทัย ฉันโทมัญชรี เป็นต้น ๔) กลุ่มคัมภีร์อลังการ มีการตกแต่งเสียงและความ หมายให้ภาษามีความไพเราะ มีคัมภีร์สุโพธาลังการ เป็นต้นen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐมen_US
dc.subjectคัมภีร์สัททาวิเสสen_US
dc.subjectบาลีในรตนสูตรen_US
dc.titleศึกษาวิเคราะห์บทบาลีในรตนสูตร ตามแนวคัมภีร์สัททาวิเสสen_US
dc.title.alternativeAN ANALYTICAL STUDY OF PALI TERMS IN RATANASUTTA THROUGH SADDĀVISESA TEXTSen_US
dc.typeBook chapteren_US
dc.typeWorking Paperen_US
Appears in Collections:รายงานการวิจัย (Research reports)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.