Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/940
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระมหาวีรธิษณ์ วรินฺโท, ดร.-
dc.contributor.authorผศ.ดร.วิโรจน์, คุ้มครอง-
dc.date.accessioned2022-07-26T07:59:31Z-
dc.date.available2022-07-26T07:59:31Z-
dc.date.issued2561-06-25-
dc.identifier.issnP-ISSN : 2539-5777 E-ISSN : 2651-0820-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/940-
dc.description69 - 80 หน้าen_US
dc.description.abstractบทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นว่า กิเลส คือ สิ่งที่ทำใจให้เศร้าหมอง มี 3 ตระกูลคือ 1) กิเลสตระกูลโลภะ 2) กิเลสตระกูลโทสะ 3) กิเลสตระกูลโมหะ โมหะเป็นกิเลสตระกูลใหญ่ที่สุด เพราะแผ่อิทธิพลครอบงํากิเลส 2 ตระกูลข้างต้น โดยเป็นจุดเริ่มต้นและเป็นตัวขยายขอบเขตของกิเลสเหล่านั้น กิเลสประเภทนี้มีโทษมาก ส่วนกิเลสทุกประเภทมีระดับขั้นของความเกิดขึ้นหรือ มีความเป็นไปลดหลั่นกัน โดยจําแนกออกเป็น 3 ระดับคือ 1) กิเลสขั้นละเอียด หมายถึง กิเลสที่สะสมอยู่ในภวังคจิตหรือจิตไร้สํานึก 2) กิเลสขั้นกลาง หมายถึง กิเลสที่ทําให้จิตใจไม่สงบ 3) กิเลสขั้นหยาบ หมายถึง กิเลสที่ไม่สามารถควบคุมจน เป็นเหตุให้เกิดการกระทําทุจริตทางกายวาจาและใจ และความมุ่งหมายของพระพุทธเจ้าที่ตรัสเรื่องกิเลสพอสรุปได้ว่า 1) เพื่อทําให้จิตสงบจากกิเลส 2) เพื่อให้หลุดพ้นจากความทุกข์ฉะนั้น การพัฒนาจิตเพื่อให้หลุดพ้นจากกิเลส ตัณหา และอุปาทานก็ด้วยการรู้แจ้งธรรมชาติของกิเลสด้วยวิปัสสนาญาณซึ่งเป็นเครื่องมือสําคัญในการปฏิบัติเพื่อหลุดพ้นจากกิเลสเป็นต้นได้en_US
dc.subjectกิเลสen_US
dc.subjectหลักพระพุทธศาสนาen_US
dc.titleกิเลสตามหลักพระพุทธศาสนาen_US
dc.title.alternativeKilesa or Defilement according to Doctrines of Buddhismen_US
Appears in Collections:บทความ

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
กิเลสตามหลักพระพุทธศาสนา.pdf507.93 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.