Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/939
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorผศ.ดร.อุทัย, สติมั่น-
dc.contributor.authorผศ.ดร.วิโรจน์, คุ้มครอง-
dc.contributor.authorพระมหาวีรธิษณ์ วรินฺโท, ดร.-
dc.date.accessioned2022-07-26T07:49:26Z-
dc.date.available2022-07-26T07:49:26Z-
dc.date.issued2560-07-25-
dc.identifier.issnP-ISSN : 2539-5777 E-ISSN : 2651-0820-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/939-
dc.description39 - 52 หน้าen_US
dc.description.abstractบทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นว่า ภาษาบาลี หมายถึง ภาษาที่รักษาพระพุทธพจน์ เป็นภาษาที่มีมาตั้งแต่อดีตกาลประมาณ ๒๕๐๐ ปีมาแล้ว เป็นภาษาถิ่นภาษาหนึ่งที่ใช้พูดกันในแถบแคว้นมคธ เรียกว่า มาคธภาษา ตามชื่อแคว้น เมื่อพระพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้น พระองค์ได้ทรงใช้ภาษาบาลีเป็นภาษาในการประกาศพระพุทธศาสนา ส่วนการบันทึกคำสอนของพระพุทธเจ้าในรูปของภาษาบาลีแบ่งออกเป็น ๑) ยุคธรรมวินัย เริ่มตั้งแต่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา จนถึงปรินิพพานรวมเวลา ๔๕ ปีพระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมวินัยด้วยมุขปาฐะ กล่าวคือทรงแสดงธรรมด้วยปากเปล่า พระสาวกก็ทรงจำด้วยมุขปาฐะ ๒) ยุคพระไตรปิฎก เริ่มตั้งแต่หลังพุทธปรินิพพาน จนถึงการทำสังคายนาครั้งที่ ๓ ประมาณ พ.ศ.๒๓๕ รวมถึงผลของสังคายนาครั้งที่ ๓ ด้วย ยุคนี้ยังใช้วิธีมุขปาฐะอยู่ ๓) ยุคหลังพระไตรปิฎก พระเถระทั้งหลายได้แต่งคัมภีร์อธิบายความหมายในพระไตรปิฎกให้เข้าใจง่ายขึ้นแบ่งได้ ๖ ยุคเช่น ยุคอรรถกถา และยุคฎีกาเป็นต้น ฉะนั้น ภาษาบาลีมีความสำคัญอย่างยิ่งในการพระกาศพระพุทธศาสนา เป็นภาษาที่ไม่เสื่อมไปตามกาลเวลา เป็นภาษาที่รักษาพระพุทธศาสนา เป็นภาษาที่แสดงธรรมของพระพุทธเจ้าที่อยู่ในรูปของพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกาเป็นต้นนั่นเองen_US
dc.subjectภาษาบาลีen_US
dc.subjectรักษาพระพุทธพจน์en_US
dc.titleภาษาบาลี : ภาษารักษาพระพุทธพจน์en_US
dc.title.alternativePali Language: the Preserving Language of the Buddha’s Doctrinesen_US
Appears in Collections:บทความ

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ภาษาบาลี ภาษารักษาพระพุทธพจน์.pdf409.33 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.