Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/936
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorผศ.ดร.วิโรจน์, คุ้มครอง-
dc.date.accessioned2022-07-26T07:32:24Z-
dc.date.available2022-07-26T07:32:24Z-
dc.date.issued2562-04-24-
dc.identifier.issn2408-1078-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/936-
dc.description133 - 144 หน้าen_US
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นว่า คัมภีร์สุจิตตาลังการ เป็นคัมภีร์ที่อธิบายเรื่องเกี่ยวกับพระอภิธรรมไว้โดยย่อ เปรียบเสมือนแบบเรียนเร็ว แต่งโดยพระกัลยาณเถระชาวพม่า ฉบับหอสมุดแห่งชาติใบลานเลขที่ ๓๖๘๗/ข/๑-๓ ต. ๑๘ ช. ๒ มี ๓ ผูก มีจัดเรียงโครงสร้างเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ ๑๗ หมวด ซึ่งควรค่าแก่การอนุรักษ์ และการเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี เพื่อเป็นประโยชน์ต่ออนุชนคนรุ่นหลังต่อไป ส่วนการวิเคราะห์การเรียนการสอนพระอภิธรรมในคัมภีร์สุจิตตาลังการบาลีอักษรขอมซึ่งเป็นคัมภีร์ที่แต่งขึ้นในพุทธศักราชได้ ๒๑๗๒ ที่ประเทศพม่ามีเนื้อหาสาระสัมพันธ์สอดคล้องกันไปในทิศทางเดียวกันกับพระไตรปิฎกที่พระกัลยาณเถระพยายามรักษาพระอภิธรรมแบบดั้งเดิมเอาไว้โดยหยิบเอาคำว่า จิต เจตสิก รูป และ นิพพานในพระอภิธรรมปิฎกมาวิเคราะห์โดยไม่เปลี่ยนแปลงเนื้อหาสาระดั้งเดิมของธรรมะเป็นการดำรงไว้ซึ่งคำสอนของพระพุทธเจ้าไว้อีกด้วย ฉะนั้น คัมภีร์สุจิตตาลังการที่พระกัลยาณเถระได้รจนาตามแนวคัมภีร์พระอภิธรรมปิฎกและคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะมีเนื้อหาที่จำแนกจิตเป็นต้นโดยประเภทต่างๆ ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เพื่อให้พุทธศาสนิกชนทั่วไปสามารถเรียนรู้พระอภิธรรมได้ง่ายและเร็วขึ้นen_US
dc.subjectคัมภีร์สุจิตตาลังการen_US
dc.subjectการปริวรรตen_US
dc.subjectการแปลen_US
dc.subjectการวิเคราะห์en_US
dc.titleบทความวิจัย คัมภีร์สุจิตตาลังการ : การปริวรรต การแปล และวิเคราะห์en_US
dc.title.alternativeSUCITTĀLAṄKĀRA: TRANSLITERATION TRANSLATION AND ANALYSISen_US
Appears in Collections:บทความ



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.