Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/866
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | บริบูรณ์, บูรกรณ์ | - |
dc.contributor.author | ปุญชเขตต์ทิกุล, ณกมล | - |
dc.contributor.author | โรจนประศาสน์, ณัฐฑิตา | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-31T06:47:56Z | - |
dc.date.available | 2022-03-31T06:47:56Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/866 | - |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาคือ ๑) เพื่อศึกษาการดารงอยู่และการสืบสานอัตลักษณ์ของเมืองอยุธยา ประเทศไทยายใต้ความเป็นยุคโลกาภิวัตน์ และ ๒) เพื่อศึกษาบทบาทของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในการสนับสนุนและส่งเสริม ให้เกิดการดารงอยู่ของอัตลักษณ์และวัฒนธรรมในเมืองโบราณอยุธยา ประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่าอัตลักษณ์ของความเป็นชาวอยุธยามีหลากหลายตามความหลากหลายของชาติพันธ์ แต่สาระสาคัญที่เป็นลักษณะร่วมของชาวอยุธยา คือ ๑) อัตลักษณ์ความรู้สึกความเป็นชาวอยุธยามีความผูกพันกับประวัติศาสตร์ที่เคยเป็นเมืองหลวงของไทยที่มีความรุ่งเรืองและอุดมสมบูรณ์ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใช้ช่วงร่วมสมัยเดียวกันนั้นและความรู้สึกเกี่ยวข้องกับการสูญเสียเอกราชให้แก่พม่า ความเป็นชาวอยุธยาจึงสัมพันธ์กับความเจริญรุ่งเรืองในขณะเดียวกันก็ผสมผสานกับการสูญเสียเอกราช อัตลักษณ์ดังกล่าวยังได้รับการสืบทอดในอดีตตารา เรื่องเล่า ภาพยนต์และละคร ๒) อัตลักษณ์ที่แสดงร่องรอยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงความเจริญรุ่งเรื่องและความสูญเสียนั้นคือ ศิลปกรรม ได้แก่ สถาปัตยกรรม ประติมากรรมและศิลปกรรมที่ทิ้งร่องรอยในอดีตไว้ในความทรงจา อัตลักษณ์ทั้งสองถูกอธิบายความเป็นชาวอยุธยาโดยชาวอยุธยา คนนอกที่มิใช่ชาวอยุธยาและชาวอยุธยารับเอาคติคนนอกมานิยามชาวอยุธยาเพื่อปฏิสัมพันธ์กับคนนอกผ่านการความตกผลึกของการสั่งสมทัศนะทั้งสองไว้ในตนเอง เป็นชาว “อยุธยา” ทั้งสองอัตลักษณ์ชาวอยุธยาพยายามอนุรักษ์ไว้โดยการร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกประเทศ การอนุรักษ์อัตลักษณ์อันแรกที่เกี่ยวข้องกับคนจะผ่านการละเล่น กิจกรรมการแสดงในเนื่องในประเพณีที่คนในชุมชนร่วมกันสืบสาน การอนุรักษ์อัตลักษณ์เป็นการสร้างสิ่งใหม่หรือการจาลองให้เหมือนอดีต การอนุรักษ์อัตลักษณ์ประการคือศิลปกรรมหลังผ่านหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน ระยะแรกเพื่ออนุรักษ์ให้คงความศักดิ์สิทธิ์ ต่อมาเพื่อแสดงคุณค่าความเป็นอารยะและปัจจุบันเพื่อการท่องเที่ยวตามลาดับ | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อัตลักษณ์กับการท่องเที่ยว | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | อยุธยา | en_US |
dc.title | อัตลักษณ์กับการท่องเที่ยว : ศึกษาการนำอัตลักษณ์มาใช้กับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแหล่งมรดกโลกเมืองอยุธยา ประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Identity and Tourism : The Study of Applying Identity for Cultural Tourism of Ayutthaya, Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-113 บูรกรณ์ บริบูรณ์.pdf | 1.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.