Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/861
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลูนละวัน, อักขราภิศุทธิ์-
dc.date.accessioned2022-03-31T06:43:18Z-
dc.date.available2022-03-31T06:43:18Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/861-
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง กระบวนการสื่อสารพุทธธรรมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ของพระสงฆ์ ในสังคมไทย มีวัตถุประสงค์ ๓ ข้อประกอบไปด้วย ๑. เพื่อศึกษาหลักการสื่อสารพุทธธรรมตามแนว พระพุทธศาสนา ๒. เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อสารพุทธธรรมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของพระสงฆ์ ในสังคมไทย ๓. เพื่อศึกษาวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ของกระบวนการสื่อสารพุทธธรรม ผ่านสื่อสังคม ออนไลน์ของพระสงฆ์ ในสังคมไทย หลักการสื่อสารพุทธธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาประกอบได้ด้วย ๑ การบอกกล่าวหรือ ชี้แจงสัจจธรรมที่เป็นความจริงอันประเสริฐ คือ อริยสัจจ์ ๔ ทั้งที่เป็นสมมมุติสัจจะ และ ปรมัตถสัจจะ แก่เวไนยสัตว์บุคคลผู้ที่สมควรบรรลุแก่ธรรม ประการที่ ๒ การป้องกันและแก้ไขความเข้าใจผิดที่ เป็นผลสืบเนื่องจากการที่พระองค์ทรงประกาศพระศาสนาด้วยสัจจะแห่งความเป็นจริง พระองค์ทรง แสดงพระธรรมเทศนาที่เป็นการป้องกันความเข้าใจผิดคลาดเคลื่อน ประการที่ ๓ การสารวจ ประชามติ ทาให้ทราบถึงการประชาสัมพันธ์ถึงนโยบาย วัตถุประสงค์ การดาเนินงาน และผลงาน หรือกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนความเคลื่อนไหว แก่พระสงฆ์สาวกเป็นประจาทุกวัน รูปแบบการสื่อสารพุทธธรรมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของพระสงฆ์ในสังคมไทย ประกอบไป ด้วยรูปแบบสื่อทัศน์ รูปแบบโสต รูปแบบโสตทัศน์ ควรมีองค์ประกอบของรูปแบบการสื่อสารพุทธ ธรรมคือ เนื้อหาธรรมะถูกต้อง ถูกใจ สมสมัยและได้ประโยชน์สาหรับผู้รับสาร มีการนาเสนอที่ตรงเป้า เข้าใจง่าย ตัวผู้สื่อสาระธรรมจาต้องเป็นผู้รู้ดี มีความชานาญในการเผยแผ่และรูปแบบต้องมีความ เชื่อมโยง และสัมพันธ์และดาเนินตามกระบวนการสื่อสารพุทธธรรม คือ รูปแบบต้องมีเนื้อหาการ สื่อสารพุทธธรรมต้องโดดเด่น จุดแข็งของกระบวนการสื่อสารพุทธธรรมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของพระสงฆ์ ในสังคมไทย มีประโยชน์ดังนี้คือ ทาให้เนื้อหาสารเผยแพร่ไปทั่วโลก ดีกว่ามาจัดสัมมนาในห้องใดห้องหนึ่งในวงแคบ แต่ถ้ากระจายไปในสื่อจะแพร่กระจายกว้างขวางไปหมด เป็นประโยชน์ คือการเสวนาในเรื่องที่เป็น ประโยชน์ เหมือนกับ ในเฟซบุ๊ค, ยูทูป, เว็บไซต์ มีผู้สนใจ และตั้งกระทู้ถามกันเป็นจานวนมาก ถ้าเป็น จุดอ่อนคือ ไม่เหมือนอยู่กับเผชิญหน้ากันแบบสดๆ บรรยายกันแบบสดๆ อารมณ์ร่วมจะแรงกว่า ถ้าอารมณ์ร่วมแรงจะได้รับประโยชน์มากกว่า เราไปทาแบบนั้นมันก็จะได้เฉพาะคนที่สนใจจริงๆ คนที่ ไม่สนใจก็จะไม่เกิดประโยชน์ นี่ก็คือเป็นจุดด้อยในการห่างหูห่างตาผู้บรรยาย ผู้บรรยายไม่ได้สังเกตว่า มีใครนั่งฟังอยู่บ้าง ถ้าสังเกตอยู่ก็คล้องจูงใจ จูงอารมณ์เต็มๆได้ เพราะมันเห็นกันจะๆ อารมณ์ร่วมมัน แรงมันสูง ถึงแม้ว่าจะมีจานวนน้อย สู้ทางออนไลน์ไม่ได้en_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectกระบวนการen_US
dc.subjectสื่อสารen_US
dc.subjectพุทธธรรมen_US
dc.subjectสังคมออนไลน์en_US
dc.subjectพระสงฆ์en_US
dc.titleกระบวนการสื่อสารพุทธธรรมผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ของพระสงฆ์ในสังคมไทยen_US
dc.title.alternativeBuddha-dhamma Communicative Procedures via Social Media of the Monks in Thai Societyen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.