Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/855
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พระครูศรีวรพินิจ | - |
dc.contributor.author | วิเศษ, สหัทยา | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-31T06:38:27Z | - |
dc.date.available | 2022-03-31T06:38:27Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/855 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (๑) สารวจสถานภาพของแหล่งโบราณคดีทาง พระพุทธศาสนาในจังหวัดพะเยา (๒) ศึกษาการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาใน จังหวัดพะเยา และ (๓) วิเคราะห์แนวทางการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาในจังหวัด พะเยาโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธี การศึกษาเอกสาร การสารวจแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนา ๔๔ แห่ง และการสนทนากลุ่มผู้ ที่เกี่ยวข้องทั้ง ๙ อา เภอๆ ละ ๑๕ คน รวมทั้งหมด ๑๓๕ คน ผลการวิจัยพบว่า ๑) สถานภาพของแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดพะเยา แบ่งออกเป็น ๓ ด้าน (๑) ประเภทของโบราณสถานและโบราณวัตถุทางพระพุทธศาสนาที่สาคัญได้แก่ พระธาตุ วิหาร อุโบสถ พระพุทธรูป รอยพระพุทธบาทจาลอง ศิลาจารึก เป็นต้น (๒) ลักษณะของตานาน และประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ ตา นานทางพุทธศาสนา ในท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น ตา นานทางพุทธศาสนาในท้องถิ่นที่มี ความสัมพันธ์กับตา นานพระเจ้าเลียบโลก ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองพะเยา และการสร้างวัดตาม ความเชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์ในท้องถิ่น และ (๓) การประกอบประเพณีของแหล่งโบราณคดีทาง พระพุทธศาสนา จะเป็ นการทา กิจกรรมตามประเพณีในวันสาคัญทางพุทธศาสนา ที่สืบต่อกันมา ตั้งแต่โบราณกาล ๒) การจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดพะเยา แบ่งออกเป็ น ๓ ด้าน (๑) รูปแบบการจัดการ ได้แก่ ๑) การจัดการโดยชุมชน เป็นรูปแบบการจัดการตามธรรมชาติ ไม่เป็นทางการ ทา ด้วยแรงศรัทธาที่มีต่อพระพุทธศาสนา ๒) การจัดการโดยภาครัฐ เป็นการจัดการ ที่เป็นทางการโดยกรมศิลปากร ๓) การจัดการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยสนับสนุน งบประมาณให้แก่ชุมชนในทากิจกรรมตามประเพณีอย่างต่อเนื่อง ๔)การจัดการในรูปแบบการ ข ศึกษาวิจัย เป็นการทางานเชิงวิชาการที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันการศึกษา และ ๕) การ จัดการในรูปแบบพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น (๒) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการ ประกอบด้วย การ มีส่วนร่วมของวัดกับคนในชุมชน การมีส่วนร่วมของชุมชนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การมี ส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับหน่วยงานภาครัฐ การมีส่วนร่วมของชุมชนกับ หน่วยงานภาครัฐ และ การมีส่วนร่วมของชุมชนกับสถาบันการศึกษา และ(๓) สภาพปัญหาในการ จัดการได้แก่ ๑) การเสื่อมสลายด้านกายภาพของแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาที่เกิดจาก ธรรมชาติ กาลเวลา และการกระทาของมนุษย์ ๒) ระบบในการจัดการไม่ชัดเจน ๓) การทาลาย แหล่งโบราณคดีจากการท่องเที่ยว และ ๔) ขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง ๓) แนวทางการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดพะเยา โดยการมี ส่วนร่วมของชุมชน ได้แก่ (๑) สนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัย การสร้างองค์ความรู้ในลักษณะของ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (๒) สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการแหล่ง โบราณคดีทางพระพุทธศาสนา โดยจัดตั้งคณะกรรมการที่มาจากทุกภาคส่วน (๓) นา องค์ความรู้ จากการศึกษาวิจัย มาทา แผนงานพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา จัดทา เป็นสื่อเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซด์และสื่อสาธารณะ และ (๔) การเตรียมความพร้อมในการถ่ายโอน อา นาจและภารกิจในการจัดการจากกรมศิลปากรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การมีส่วนร่วมของชุมชน | en_US |
dc.subject | จังหวัดพะเยา | en_US |
dc.subject | แหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนา | en_US |
dc.title | การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนา ในจังหวัดพะเยา | en_US |
dc.title.alternative | Community Participation in the Buddhist Archaeological Management in Phayao Province | en_US |
dc.type | Other | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2557-090พระครูศรีวรพินิจ,.pdf | 11.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.