Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/851
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกว้างไชย์, วัชระ-
dc.date.accessioned2022-03-31T06:34:58Z-
dc.date.available2022-03-31T06:34:58Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/851-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่อง พุทธจักรวาลวิทยา : แนวคิด คติความเชื่อ ระบบสัญลักษณ์แบบอุดมคติไทย สู่การสร้างสรรค์ในงานพุทธศิลปกรรมไทยร่วมสมัย เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิด คติความเชื่อเรื่องพุทธจักรวาลวิทยา ๒) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้พุทธจักรวาลวิทยากับการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรม และ ๓) เพื่อศึกษาและบูรณาการแนวคิดพุทธจักรวาลวิทยาไปสร้างสรรค์ในงานพุทธศิลปกรรมไทยร่วมสมัย โดยผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง(Structured Interview) และการสัมมนากลุ่มย่อย (Focus Group) ผลการวิจัยพบว่าจากการการศึกษาวัตถุประสงค์ข้อที่ ๑) เรื่องการศึกษาแนวคิด คติความเชื่อเรื่องพุทธจักรวาลวิทยา พบว่าคติความเชื่อพุทธจักวาลวิทยามีการบันทึกไว้ในคัมภีร์พระไตรปิฏก ซึ่งมีอิทธิพลต่องานศิลปกรรมไทยตลอดจนพุทธศาสนิกชน จากการการศึกษาวัตถุประสงค์ข้อที่ ๒) เรื่องศึกษาการประยุกต์ใช้พุทธจักรวาลวิทยากับการสร้างสรรค์พุทธศิลปกรรม พบว่าการประยุกต์กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะจะต้องนาองค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้านามาถ่ายทอดจากช่างโบราณที่ได้แฝงนัยยะสาคัญทางพุทธศิลป์อันงดงาม อันประดับลวดลาย และการตกแต่งเพื่อให้เกิดความสวยงามในตัวอาคาร เช่น หน้าบัน เสา ตลอดจนถึงฐานบันไดที่ได้วางตาแหน่งตามคติความเชื่อทางไตรภูมิหรือพุทธจักรวาลวิทยาที่ตอบรับกันอย่างลงตัว จากการการศึกษาวัตถุประสงค์ข้อที่ ๓) เรื่องการศึกษาและบูรณาการแนวคิดพุทธจักรวาลวิทยาไปสร้างสรรค์ในงานพุทธศิลปกรรมไทยร่วมสมัย พบว่าในการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะ ต้องมีแรงบันดาลใจและสืบหาข้อมูลให้เข้าใจและถ่ายทอดออกมาและสามารถทาให้ผลงานศิลปะของเรามีความสมบูรณ์และเข้าใจในชิ้นงานมากยิ่งขึ้น ดังนั้นการศึกษาถึงเรื่องแนวความคิด คติความเชื่อเรื่องพุทธจักรวาลโดยการใช้เอกสารเพิ่มเติมจากตาราวิชาการและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมในเชิงทฤษฎีและผลจากการวิจัย เพื่อนามาเป็นฐานข้อมูลในการเขียนรายงานและการสร้างสรรค์ในงานประยุกต์กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเราต้องนาองค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้านามาถ่ายทอดให้เกิดสิ่งใหม่ที่มีความแปลกและแตกต่างหรือยุคสมัยมากยิ่งขึ้น การศึกษาพุทธจักรวาลวิทยาในงานสถาปัตยกรรมนั้น เพื่อเป็นรากฐานของ สังคมพุทธอย่างยั่งยืนและสืบทอดวัฒนธรรมอันดีงาม และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการสร้างจิตวิญญาณการเรียนรู้ของสังคมล้านนา และองค์ความรู้ใหม่ที่จะเอื้อเฟื้อต่อการบูรณาการสร้างจิตวิญญาณแห่งการเรียนรู้ของสังคมผ่านผลงานพุทธศิลปกรรม การสืบสานและการอนุรักษ์en_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectพุทธจักรวาลวิทยาen_US
dc.subjectแนวคิดen_US
dc.subjectคติความเชื่อen_US
dc.subjectระบบสัญลักษณ์แบบอุดมคติไทยen_US
dc.subjectพุทธศิลปกรรมไทยร่วมสมัยen_US
dc.titleพุทธจักรวาลวิทยา : แนวคิด คติความเชื่อ ระบบสัญลักษณ์แบบอุดมคติไทย สู่การสร้างสรรค์ในงานพุทธศิลปกรรมไทยร่วมสมัยen_US
dc.title.alternativeBuddhist Cosmology: The Belief System of Thai Ideologies through the Creation of Buddhist Contemporary artsen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-054 วัชระ กว้างไชย์.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.