Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/832
Title: กลไกภาครัฐในการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ตามยุทธศาสตร์สี่แยกอินโดจีน
Other Titles: Government Sector Mechanics in Developing areas Administration in Accordance with Indochina Intersection Strategies
Authors: พระครูปลัดสุวัฒนพุทธิคุณ
Keywords: กลไกภาครัฐ
สี่แยกอินโดจีน
ยุทธศาสตร์
Issue Date: 2560
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัย เรื่อง “กลไกภาครัฐในการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ตามยุทธศาสตร์สี่แยกอินโด จีน” มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อค้นหากลไกภาครัฐในการบริหารจัดการพัฒนาเชิงพื้นที่ตามยุทธศาสตร์สี่ แยกอินโดจีน ๒) เพื่อศึกษาการแปลงยุทธศาสตร์สี่แยกอินโดจีนไปสู่การบริหารจัดการเชิงพื้นที่ และ. ๓) เพื่อประเมินผลการการดาเนินงานในการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ของสี่แยกอินโดจีน เป็นการวิธีวิจัย เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผู้วิจัยได้มุ่งเน้นศึกษาวิเคราะห์กลไกภาครัฐในการบริหาร จัดการเชิงพื้นที่ตามยุทธศาสตร์สี่แยกอินโดจีน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Informants) ซึ่งเป็นบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์เกี่ยวกับ กลไกภาครัฐในการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ตามยุทธศาสตร์สี่แยกอินโดจีน จานวน ๒๐ ท่าน และการ สนทนากลุ่มเฉพาะ (Focus Group Discussion) กับผู้เกี่ยวข้อง จานวน ๑๐ ท่าน ผลการวิจัยพบว่า ๑. กลไกภาครัฐในการบริหารจัดการพัฒนาเชิงพื้นที่ตามยุทธศาสตร์สี่แยกอินโดจีน ใน การบริหารจัดการพัฒนาเชิงพื้นที่ คือ ทรัพยากรมนุษย์ เงินทุน และวัสดุอุปกรณ์ การจัดหาบุคลากร เข้าทางานในองค์กร จึงเป็นกระบวนการหนึ่งของผู้บริหารที่ต้องดาเนินการต่อจากการวางแผนและ การจัดองค์กร ดังนี้ ๑) วางแผนงานจัดแบ่งงานและกาหนดโครงสร้างขององค์กรแล้ว และ ๒) จัดการ ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างประชาชน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ด้วยการจัดการองค์กร ควรมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เพื่อการทางานที่มุ่งไปสู้จุดมุ่งหมายเดียวกัน ซึ่งผู้บริหารก็จะต้องทาการ จัดหาคนเข้าทางานตามตาแหน่งต่างๆ อย่างเหมาะสม เมื่อทุกคนในองค์กรและทุกหน่วยงาน รู้จักงาน หน้าที่ของตน การปฏิบัติงานภายในขอบเขตที่มอบหมายให้ แต่ละงานที่ดาเนินการจะสามารถสัมฤทธิ์ ผลได้ ๒. การแปลงยุทธศาสตร์สี่แยกอินโดจีนไปสู่การบริหารจัดการเชิงพื้นที่ พบว่า เพื่อให้ ประชาชนสามารถสร้างอาชีพ หารายได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องพึงพาความช่วยเหลือจากรัฐบาล ดังนี้ ขั้นตอนดับแรก คือ การสร้างความรู้ความเข้าใจในแผน เพื่อชี้แจงทาความเข้าใจในกระบวนการทุก ระดับตั้งแต่ประชาชน ผู้นาท้องถิ่นจนถึงระดับจังหวัด เพื่อให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน ขั้นตอน ข ที่สองการจัดทาแผนปฏิบัติการในระดับต่างๆ ให้เชื่อมโยงกัน พร้อมทั้งจัดทาแผนงานที่ให้สอดคล้อง เชื่อมโยงไปในทิศทางเดียวกันในทุกระดับ ในขั้นตอนนี้ต้องระบุผู้รับผิดหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ ระบุอานาจหน้าที่ให้ชัดเจน เพื่อการติดต่อประสานงาน ขั้นตอนสุดท้ายการสร้างระบบการติดตาม ประเมินผล กาหนดดัชนีชี้วัดความสาเร็จ เป็นการกาหนดกลไกการติดตามประเมินผลให้เป็นระบบ และตัวชี้วัด และมีการจัดทาสรุปรายงาน ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ ๓. การประเมินผลการดาเนินงานในการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ของสี่แยกอินโดจีน ใน การพัฒนาพื้นที่สี่แยกอินโดจีน ได้รับนโยบายที่ชัดเจนจากภาครัฐ และได้รับการสนับสนุนที่ดีจาก องค์กรภาคเอกชน มีทิศทางที่ชัดเจนในการส่งเสริมพัฒนา ก่อสร้างถนน หนทาง วางระบบ สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ที่มีความชัดเจนเป็นรูปธรรม มีแนวทางและทิศทางที่ชัดเจน การ วาง ยุทธศาสตร์ให้จังหวัดพิษณุโลกเป็น "สี่แยกอินโดจีน" เพื่อให้จังหวัดพิษณุโลกเป็นแกนกลางในการ"นา" พัฒนาพื้นที่ ๙ จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/832
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.