Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/82
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระมหาขวัญชัย, กิตฺติเมธี,ผศ.ดร.-
dc.date.accessioned2021-07-22T09:10:09Z-
dc.date.available2021-07-22T09:10:09Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.issn2539-5726-
dc.identifier.issn2697-4150-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/82-
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องศาสนากับปัญหาความรุนแรง เพื่อ ศึกษาแนวคิดเรื่องพระพุทธศาสนากับปัญหาความรุนแรง และเพื่อวิเคราะห์พระพุทธศาสนากับ ปัญหาความรุนแรงในจักกวัตติสูตร บทความวิชาการนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการ วิเคราะห์เอกสาร หนังสือเป็นหลัก จากผลการศึกษาพบว่า แนวคิดเรื่องศาสนาที่เกี่ยวข้องกับ ความรุนแรงได้แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มปรวิสัยที่อธิบายธรรมชาติผ่านความเชื่อทางศาสนาที่ อธิบายความรุนแรงเป็นสิ่งที่ควบคู่มากับธรรมชาติและกลุ่มอัตตวิสัยที่ถือว่าความรุนแรงไม่ได้ เกี่ยวกับธรรมชาติแต่เป็นด้วยมนุษย์ใช้เหตุผลอธิบายถึงการกระทาของมนุษย์เท่านั้น ขณะที่ พระพุทธศาสนาอธิบายความรุนแรงมาจากผลกรรมชั่ว และแนวคิดเรื่องจริยธรรมที่พิจารณาบน ฐานของบุคคลที่เป็นผู้กาหนดดีชั่ว เช่นผู้มีอานาจปกครอง ส่วนการวิเคราะห์จักกวัตติสูตรได้ พิจารณาความรุนแรงมาจากการปกป้องคุ้มครองธรรมะ โดยหลักธรรมที่ปฏิบัติเพื่อสร้างความ สงบมากกว่าความสร้างความรุนแรง ส่วนการมีความรุนแรงนั้นจาเป็นต้องมาจากความเห็นชอบ ร่วมกัน เช่นการลงโทษผู้กระทาความผิด และความรุนแรงจากการป้องกันไม่ให้อธรรมเกิดขึ้น ด้วยการรู้ผลของกรรมชั่ว ส่วนความรุนแรงสามารถใช้ได้จากผู้ที่มีเมตตาสามารถควบคุมไม่ได้เกิด ความรุนแรงอื่นๆตามมาได้en_US
dc.publisherวารสาร มจร อุบลปริทรรศน์en_US
dc.subjectพระพุทธศาสนาen_US
dc.subjectความรุนแรงen_US
dc.titleพระพุทธศาสนากับปัญหาความรุนแรง :กรณีศึกษาจักกวัตติสูตรen_US
dc.title.alternativeBuddhism and Violence Problems: A Case Study of Cakkavattisutraen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Articles)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.