Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/826
Title: รูปแบบการด้าเนินวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนริมน้าจันทบูร
Other Titles: Way of Life Model according to Sufficiency Economy Principles of Chanthaboon Waterfront Community
Authors: ภักดีแสน, ศุภกิจ
ค้ามุงคุณ, จิตสุดา
Keywords: รูปแบบการดำเนินวิถีชีวิต
ชุมชนริมน้ำจันทบูร
หลักเศรษฐกิจพอเพียง
Issue Date: 2561
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความเป็นมาและวิถีชีวิตของชุมชนริมน้าจันท บูร (2) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนริมน้าจันทบูร (3) เพื่อ น้าเสนอรูปแบบการด้าเนินวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนริมน้าจันทบูร ระเบียบวิธีวิจัยใช้แบบผสานวิธี (Mixed Methods) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิง ปริมาณ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ ก้าหนดผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) 11 คน เลือกแบบเจาะจง จากผู้ทรงคุณวุฒิเครื่องมือเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกที่มีโครงสร้าง (Structure In-Depth Interview) เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกตัวต่อตัว (Face-to-Face In-Depth Interview) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการพรรณนาความ (Descriptive Interpretation) (2) การวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจ้านวน 190 คน จากจ้านวนประชากร 364 คน ด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ความเป็นมาและวิถีชีวิตของชุมชนริมน้าจันทบูร พบว่า ชุมชนริมน้าจันทบูร เป็น ชุมชนเก่าแก่ที่มีประวัติยาวนานมาตั งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ในอดีตเคยเป็นศูนย์การค้าที่รุ่งเรือง ชุมชนที่มีการผสมผสานกันอย่างลงตัวของศาสนา วัฒนธรรมประเพณี ศิลปกรรม และผู้คนที่อาศัยอยู่ ร่วมกันอย่างกลมกลืน เมื่อนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวจะได้รับความรู้ไปในตัวด้วย นั่นคือการเที่ยว ไปแล้วก็เรียนรู้ไปด้วย ชุมชนริมน้าจันทบูรนั น เป็นชุมชนเส้นทางสายเศรษฐกิจวัฒนธรรม ที่สะท้อน ความเข้มแข็ง ความมีวิสัยทัศน์ที่ดี น่าสนใจในการขับเคลื่อนชุมชนแห่งวิถีวัฒนธรรมนี ให้เป็นชุมชนที่ เข้มแข็ง 2. การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนริมน้าจันทบูร พบว่า 2.1 การด้าเนินวิถีชีวิตด้านเศรษฐกิจ ชุมชนมี “วิสาหกิจชุมชน” ค้าขายสินค้าตาม ความเหมาะสม โดยไม่หวังก้าไรเกินควร เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ความพึงพอใจในชุมชน เพื่อเป็นการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชนอย่างยังยืน การกินอยู่อย่างพอเพียง ประหยัด ไม่ฟุ้งเพ้อ ชุมชนริมน้า จันทบูร มีการเสนอวิธีที่ด้าเนินการให้สอดคล้องกับความต้องการของจังหวัด และจัดท้าบัญชีรายรับ- รายจ่ายในครอบครัวอย่างสม่้าเสมอ เข้าร่วมกิจกรรมการออม 2.2 การด้าเนินวิถีชีวิตด้านสังคม เป็นสังคมเมือง คนในชุมชนมีความสามัคคีกลม เกลียวช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกันการด้าเนินการพัฒนาเป็นไปในรูปแบบที่เน้นการยอมรับนับถือซึ่งกัน และกันเป็นการด้าเนินการและร่วมเรียนรู้ที่ทั งกลุ่มแกนน้ากับชาวบ้านมีปฏิสัมพันธ์กัน รวมถึง (ข) ชาวบ้านกับชาวบ้านแกนน้ากับจังหวัด แกนน้ากับองค์กรต่างๆ และแบ่งปันสิ่งของ หรือช่วยเหลือ เพื่อนร่วมงานในยามที่ต้องการความช่วยเหลือตามก้าลังและอัตภาพ 2.3 การด้าเนินวิถีชีวิตด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม “แม่น้าจันทบูร” เป็นหัวใจย่านการค้าเป็นชุมชนเมืองเราอาศัยคลองริมน้าจันทบูร ขยะของชุมชนให้ใส่ถุงด้าไว้ เช้า-เย็น จะมีรถขยะมารับ จะมีถังขยะเทศบาลไว้คอยบริการ รูปแบบการปรับปรุงแต่ไม่เปลี่ยนแปลง สภาพ ดั งเดิมของความเป็นชุมชนเก่าแก่ และวิถีชีวิตคนริมน้า รักษาวิถีธรรมชาติแบบเดิม ด้วยการอนุรักษ์ ปรับปรุง แต่ไม่เปลี่ยนแปลงไปมาก และท้ารั วกินได้โดยปลูกผักสวนครัวหรือผักกระถาง 2.4 การด้าเนินวิถีชีวิตด้านวัฒนธรรม การฟื้นฟูวิถีชีวิตชุมชนดั งเดิมตามชุมชนเป็น ถนนคนเดิน “ถนนวิถีชีวิตดั งเดิม” สืบทอดกันมาตามวิถีชีวิตเป็นการผสมผสานวัฒนธรรมทางศาสนา การผสมผสานวัฒนธรรม 3 วัฒนธรรม คือ วัฒนธรรมไทย จีน ญวน และรูปแบบใหม่ที่เน้นเรื่องของ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงวิถีชีวิตและเชิงอนุรักษ์ ชุมชนริมน้าจันทบูรยังคงสืบทอดศิลปะและ วัฒนธรรมต่างๆ ในอดีตไว้ได้เป็นอย่างดีที่ไม่ได้น้าออกมาจัดแสดงหรือสาธิตให้นักท่องเที่ยวได้ชม และ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีของท้องถิ่นอันดีงาม ปฏิบัติตาม มีสืบทอดประเพณีอันดีงามใน ชุมชน เช่น เข้าร่วมประเพณีต่างๆ ในชุมชนที่จัดขึ น 3. รูปแบบการด้าเนินวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนริมน้าจันทบูร พบว่า ชุมชนริมน้าจันทบูรเป็นชุมชนที่มีความหลากหลาย ด้านวัฒนธรรม เชื อชาติ ศาสนา จนกลายมา เป็นอัตลักษณ์ของชุมชนริมน้าจันทบูร อันเป็นทุนทางสังคมวัฒนธรรม เพราะรูปแบบการด้าเนินชีวิต ในอดีตส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นไปในทางเรือไม่ว่าจะเป็นการค้า การขาย การติดต่อกัน, ส่วนรูปแบบการ ด้าเนินชีวิตในปัจจุบันจะด้าเนินไปทางด้านการขนส่งทางบก เปลี่ยนแปลงจากสภาพในอดีตที่เป็นทาง เรือ มาเป็นการคมนาคมทางบก หรือรถแทน เป็นชุมชนที่อาศัยอยู่ส้าหรับค้าขายส่วนใหญ่ ปัจจุบันจะ เป็นประชากรแฝง ที่มาเช่า หรือเซ้งกิจการ เซ้งร้าน เช่าร้าน การค้า การขาย และการลงทุน รูปแบบ ที่ตลาดท่องเที่ยวไทยต้องการ ความต้องการที่จะอนุรักษ์และน้าเสนอมิติความเป็นชุมชนในแบบที่เป็น ตัวของตัวเอง พาณิชย์จังหวัดเข้ามาเพื่อเสนอแผนการท่องเที่ยวในรูปแบบของเส้นทางสายเศรษฐกิจ วัฒนธรรมจึงน่าจะเป็นสิ่งที่ดี ที่ดึงดูดผู้คนเข้ามาในจังหวัด
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/826
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-312 ดร.ศุภกิจ ภักดีแสน.pdf9.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.