Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/799
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปอนถิ่น, ประเสริฐ-
dc.contributor.authorพระครู, สาทรธรรมสิทธิ์-
dc.contributor.authorปอนถิ่น, โสภา-
dc.date.accessioned2022-03-30T14:43:52Z-
dc.date.available2022-03-30T14:43:52Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/799-
dc.description.abstractการสัมภาษณ์เจาะลึก กับกลุ่มตัวอย่างของกลุ่มพระบัณฑิตอาสาพัฒนา ชาวเขา จานวน ๒ รูป กลุ่มข้าราชการองค์การเทศบาลตาบลบ้านจันทร์ จานวน ๕ คน สมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนตาบล จานวน ๔ คน กลุ่มผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน จานวน ๖ คน ๕) คณะกรรมการชุมชน/ตัวแทนประชาชนหมู่บ้านละ ๖ คน รวม ๑๒ คน รวมทั้งสิ้น ๒๙ รูป/คน ผลการวิจัยมีดังนี้ ๑. ปัญหาและผลกระทบภัยพิบัติทางธรรมชาติของชุมชน พบว่า ในฤดูฝนมีปริมาณ น้าฝนเฉลี่ย ๑,๒๒๕ มิลลิเมตรต่อปี ทาให้เกิดผลเสียทางด้านการเกษตรโดยเฉพาะนาข้าว พืชผัก ผลไม้ ด้านอัคคีภัย ไม่เคยมีอัคคีภัยที่เกิดขึ้นในลักษณะเผาไหม้ทั้งหมู่บ้าน ด้านวาตภัย เคยมีผู้ประสบ ปัญหาพายุฤดูร้อนซึ่งเกิดขึ้นทุกปี ด้านฝนแล้งหรือสภาวะการขาดน้า ชุมชนขาดน้าในบ่อหรือลาห้วย ไม่มีน้าอุปโภคและบริโภคในฤดูร้อน สภาวะความแห้งแล้งทางการเกษตร ไม่สามารถที่จะปลูกพืชผัก ชนิดต่างๆ ได้ ด้านอากาศหนาว ในฤดูหนาวจะมีอากาศหนาวมีอุณหภูมิของอากาศประมาณสาม องศาเซลเซียส ด้านภัยจากอุบัติเหตุทางคมนาคม มีการก่อสร้างถนน ร่องน้า ป้ายจราจร หรือบอก ทางยังไม่ชัดเจน ด้านภัยจากการก่อสร้าง ไม่มีวิศวกรเข้ามาควบคุมการก่อสร้างบ้านเรือน ๒. การจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติของชุมชน พบว่า ทางองค์การบริหารส่วนตาบน บ้านจันทร์ มีการจัดการ ยุทธศาสตร์ และจัดสรรงบประมาณ ในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณ ภัยร่วมกับทั้งสองชุมชน มีการประชุมประจาเดือน เพื่อชี้แจงข่าวสารให้กับชาวบ้าน มีการวางแผน รับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติตามฤดูกาล องค์การบริหารส่วนตาบลวัดจันทร์ได้ให้ความรู้ อบรม วิธีการ และเทคนิค มีการจัดตั้งกลุ่มองค์กรหรือคณะกรรมการเพื่อรับผิดชอบ เมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้น โดยประสานองค์การบริหารส่วนตาบลบ้านจันทร์ ระดับอาเภอ โรงพยาบาลประจาอาเภอ และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบล มีการกาหนดที่พักอาศัยและบ้านเรือน เช่น ไฟไหม้บ้าน จะ มีการย้ายครอบครัวไปพักอาศัยอยู่กับญาติหรือเพื่อนบ้านใกล้เคียง เป็นการชั่วคราว ๓. ข้อเสนอแนะแนวทางการจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติของชุมชน พบว่า การ จัดการและการวางแผน รัฐบาลควรมีหนังสือสั่งการหรือคาแนะนาให้เตรียมการล่วงหน้าในการ ข รับมือภัยพิบัติ ควรให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้ด้านการป้องกันภัยพิบัติให้กับชุมชนทุกๆ ด้านทุกปี ควรมีการเตรียมการเรื่องบุคคล เครื่องมืออุปกรณ์ และยาพาหนะให้พร้อม การปลูก จิตสานึกจิตอาสา การพัฒนาระบบอาสาสมัครเพื่อการจัดการภัยพิบัติ ส่งเสริมการผนึกกาลังของ ภาคส่วนต่างๆ ประสานงานของหมู่บ้านเรื่องที่เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหา เมื่อเกิดภัยพิบัติ ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ควรจะมีการแต่ตั้งคณะบุคคลของคณะกรรมการหมู่บ้านไปตรวจสอบและ ติดตามผล ควรจัดการภัยพิบัติโดยมุ่งเน้นระชาชนในชุมชนเป็นผู้ร่วมกอบกูวิกฤติ ควรขยายความ ร่วมมือจากหน่วยงานและองค์กรมากขึ้น ควรมีกฎระเบียบที่มุ่งเน้นให้ความช่วยเหลือผู้เดือดร้อน อย่างเป็นธรรมตามสภาพความเสียหายที่เกิดขึ้น ควรมีเจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับท้องถิ่นหรือ หน่วยงานเข้ามาสารวจสภาพโครงสร้างบ้านเรือนแต่ละหลัง ให้ความรู้ประชากรในชุมชนในการ ป้องกันมลพิษ ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือนen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectแนวทางการบริหารจัดการen_US
dc.subjectภัยพิบัติen_US
dc.subjectชุมชนen_US
dc.subjectศึกษากรณี บ้านจันทร์en_US
dc.titleแนวทางการบริหารจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติของชุมชน: ศึกษากรณี บ้านจันทร์ และบ้าน เด่น ตำบลบ้านจันทร์ อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeNatural Disaster Management Guidelines of Villages: Case Study Ban Chan and Ban Den Tambol Ban Chan, Kanlayaniwatthana District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-101 ผศ.ดร.ประเสริฐ ปอนถิ่น.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.