Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/798
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพลปญฺโญ, อำนาจ,-
dc.contributor.authorยุตฺติธโร, กิตติ-
dc.contributor.authorมาลา, พีรพงษ์-
dc.date.accessioned2022-03-30T14:41:38Z-
dc.date.available2022-03-30T14:41:38Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/798-
dc.description.sponsorshipรายงานวิจัยเรื่องรูปแบบการพัฒนาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุตามหลักพุทธธรรม : กรณีศึกษาตาบลบ้านปรือ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาหลัก พุทธธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ๒) เพื่อศึกษา กระบวนการพัฒนาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ในวัดและชุมชนตาบลบ้านปรือ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ๓) เพื่อเสนอรูแปบบการพัฒนาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุตามหลักพุทธธรรมภูมิ ปัญญาท้องถิ่นในวัดและชุมชน อา เภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบลง พื้นที่สัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ๑. หลักพุทธธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ใช้หลักภาวนา ๔ คือ ๑) กายภาวนา เป็นการบริหารกาย ด้วยการเดินออกกาลังกาย กวาดลาน บ้าน และรดน้า ผักสวนครัว ทา ให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมีภูมิคุ้มกันที่ดี ๒) สีลภาวนา การฝึ กอบรมตนเองให้ตั้งอยู่ในระเบียบวินัย ไม่เบียดเบียนผู้อื่นยื่นมือช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและ กัน พึ่งพาอาศัยหยิบยื่นน้าใจไมตรีต่อเพื่อนบ้านด้วยความเต็มใจ ๓) สมาธิภาวนา การ ฝึ กอบรมจิตใจให้เข้มแข็งมั่นคงเจริญงอกงามด้วยคุณธรรมทั้งหลาย มีเมตตากรุณา ขยันหมั่นเพียร อดทนมีสมาธิ และสดชื่น เบิกบาน เป็นสุขผ่องใส มีจิตใจที่ดี มีสุขภาพจิตที่ แจ่มใส และ๔) ปัญญาภาวนา การฝึ กอบรมปัญญาให้รู้เข้าใจสิ่งทั้งหลายตามเป็นจริง รู้เท่าทัน เห็นโลกและสังคมปัจจุบัน ส่วนภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์แล้ว ถ่ายทอดสืบต่อกันมา โดยการใช้ยาสมุนไพรรักษาโรคต่าง ๆ การใช้หมากพลูเคี้ยวเป่ ารักษา พิษไข้ ที่เกิดจากฝี เริม งูสวัด โรงพยาบาลเป็นทางเลือกสุดท้ายสา หรับผู้สูงอายุส่วนมากจะใช้ ยาสมุนไพรเพื่อรักษาโรค ๒. กระบวนการพัฒนาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ในวัดและชุมชน ตา บลบ้านปรือ นั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตา บล ร่วมจัดกิจกรรมในวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนากับทางวัดเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสผ่อนคลาย และมีส่วนร่วมในกิจกรรม บ่อย ๆ เช่นการออกกา ลังกาย การนวดผ่อนคลาย การร้องเพลง และการฟ้อนรา จนสังเกตเห็น ว่ามีการยิ้มแย้มแจ่มใส มีความสนุกสนานเพลิดเพลินกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน ๓. รูปแบบการพัฒนาสุขภาพจิต ทานอาหารพอประมาณ ออกกา ลังกายสม่า เสมอ การมีส่วนร่วมในชุมชน การทา บุญ คบเพื่อนบ้านที่ดี ดา เนินชีวิตแบบเรียบง่ายen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectรูปแบบการพัฒนาen_US
dc.subjectสุขภาพจิตของผู้สูงอายุen_US
dc.subjectหลักพุทธธรรมen_US
dc.subjectจังหวัดบุรีรัมย์en_US
dc.titleรูปแบบการพัฒนาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุตามหลักพุทธธรรม : กรณีศึกษาตาบลบ้านปรือ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์en_US
dc.title.alternativeDevelopmental Model of The Mental Health of Buddhadhamma for the Old Aged People : A Case Study of Banprue Sub-District, Krasang District Buriram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2557-049พระครูวินัยธรอานาจ (1).pdf5.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.