Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/797
Title: การเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ต่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้า จังหวัดน่าน
Other Titles: Reinforcement Process on People’s Participation Process in the Watershed Forest Conservation and Restoration in Nan Province
Authors: ยรรยงค์, ธัชพล
Keywords: การเสริมสร้าง
กระบวนการมีส่วนร่วม
การอนุรักษ์และฟื้นฟู
ป่าต้นน้า
จังหวัดน่าน
Issue Date: 2560
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษานโยบายและกระบวนการในการอนุรักษ์และ ฟื้นฟูป่าต้นน้า จังหวัดน่าน ๒) เพื่อเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์และ ฟื้นฟูป่าต้นน้า จังหวัดน่าน และ ๓) เพื่อเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์และ ฟื้นฟูป่าต้นน้า จังหวัดน่าน ผู้วิจัยน้าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) จากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In - depth Interview) โดยได้ท้าการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงบุคคล และ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื อหา (Content Analysis) ตามวัตถุประสงค์การวิจัยที่ก้าหนดไว้ ผลการวิจัยพบว่า ๑) นโยบายและกระบวนการในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้า จังหวัดน่าน ภาครัฐมี นโยบายและแผนยุทธศาสตร์การรักษาป่าอย่างครอบคลุม การด้าเนินนโยบายที่เน้นการมีส่วนร่วมของ ชุมชน มีการวางแผนก้าหนดขอบเขตการปฏิบัติงาน บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ภายใต้โนบาย “พลิกฟื้นผืนป่า สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” มีแผนงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ และ โครงการสร้างเมืองน่านน่าอยู่ คู่ป่าต้นน้า เป็นวาระจังหวัดน่าน พร้อมกับจัดตั งศูนย์ฟื้นฟูป่าต้นน้าและ ฐานการควบคุมการฟื้นฟู โดยจะให้เจ้าหน้าที่เข้าปฏิบัติงานบนฐานปฏิบัติการฟื้นฟู มุ่งเน้นให้ ประชาชนตระหนักถึงความส้าคัญของการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้า ปัจจุบันมีการส้ารวจการถือครอง พื นที่เพื่อป้องกันการบุกรุกการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการสร้างเศรษฐกิจจาก การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม เช่น ภาครัฐไปอบรมชาวบ้านในพื นที่เพื่อให้ชาวบ้าน มีความรู้ รวมทั งส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการปลูกป่า และจัดการทรัพยากรด้วยตนเอง ๒) การเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้า จังหวัดน่าน ประกอบด้วยการมีส่วนร่วม ๖ กระบวนการดังนี ๒.๑) การให้ข้อมูล การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน เยาวชนในช่องทาง ออนไลน์ต่างๆ เพื่อให้ตระหนักถึงความส้าคัญ ประโยชน์ของป่าต้นน้า และเพิ่มทักษะทางด้านวิชาการ พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าต้นน้ากับชาวบ้าน ๒.๒) การเปิดรับความคิดเห็นจากประชาชน มีการจัดเวทีสัมมนา รับฟังความ คิดเห็นเพื่อให้ทราบถึงปัญหา และแนวทางในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้าระหว่างรัฐกับชาวบ้าน ในเขตพื นที่ป่าต้นน้าด้วยสันติวิธี เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาของชาวบ้านอย่างเป็นองค์รวม ๒.3) การปรึกษาหารือ การสร้างเครือข่ายการท้างานร่วมกันของภาครัฐและ เอกชนให้มีการพัฒนาจัดการอย่างยั่งยืนเห็นได้จากการพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาที่แท้จริงกับการหายไป ของป่าต้นน้า ๒.4) การวางแผนร่วมกัน ประสานความร่วมมือกับชุมชน ในการก้าหนด มาตรการการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้าร่วมกันประชาชนเข้ามาร่วมดูแลสภาพความเป็นอยู่ของป่า ปลูกใหม่จากกลุ่มประชาชน เป็นหัวเลี ยวหัวต่อและแลกเปลี่ยนเรียนรู้และหาแนวทางการอนุรักษ์ป่า ต้นน้าในพื นที่ต้นน้าให้มีสภาพป่าธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์ฟื้นตัวสมบูรณ์ดังเดิมได้ ๒.5) การร่วมปฏิบัติ เน้นให้ประชาชนและเยาวชนลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง เรียนรู้ จากวิถีการด้ารงชีวิตของชุมชนเกี่ยวกับการเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการ อนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้า พยายามปรับตัวให้อยู่ร่วมกับป่า ด้วยการผสมผสานความรู้ เทคโนโลยี สมัยใหม่ ภูมิปัญญาดั งเดิมของชุมชน ๒.6) ร่วมติดตามตรวจสอบ ลงพื นที่พัฒนาจริง และเข้าถึงชุมชนอย่างจริงจัง จัดท้าแผนปฏิบัติการในการจัดการและอนุรักษ์พื นที่ป่าต้นน้า ระยะสั น ระยะกลาง และระยะยาว ที่ชัดเจนและเหมาะสม ตลอดจนติดตามประเมินผลเพื่อทบทวนและปรับปรุงแผนให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ๓) แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้า จังหวัดน่าน ต้องท้าความเข้าใจกับประชาชนให้รู้ถึงประโยชน์ของป่า และการอยู่ร่วมกับป่า โดยมีการมุ่งเน้นให้คน อยู่ร่วมกับป่าได้อย่างมีความสุขและยั่งยืน เน้นกระบวนการสร้างองค์ความรู้จากฐานทรัพยากรที่มีอยู่ ในชุมชน สู่แนวทางการจัดการความรู้ที่เกิดขึ นอย่างเป็นส่งเสริมและพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมตาม โครงการพระราชด้าริและไม่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การหาอาชีพที่จะให้ คนอยู่กับป่าได้อย่างกลมกลืน และสร้างรายได้เพื่อเลี ยงครอบครัว เช่น ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง เป็นวิธีปลูกป่าตามแนวพระราชด้าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นต้น มีกุศโลบายใน การรักษาความสมบูรณ์ของป่าผ่านทางพิธีกรรมต่างๆ ตามภูมินิเวศและวัฒนธรรม และการปลูกฝัง เยาวชนรุ่นใหม่ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง เรียนรู้จากวิถีการด้ารงชีวิตของชุมชน และเกี่ยวกับการ เสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้าที่พยายามปรับตัวให้ อยู่ร่วมกับป่า ด้วยการผสมผสานความรู้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ภูมิปัญญาดั งเดิมของชุมชน และชุมชน สามารถผลิตอาหารได้เพียงพอ มีรายได้เสริมจากผลผลิตที่เกิดขึ นในชุมชน
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/797
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-014 นายธัชพล ยรรยงค์ (1).pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.