Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/796
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | บริบูรณ์, บูรกรณ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-30T14:38:06Z | - |
dc.date.available | 2022-03-30T14:38:06Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/796 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑ เพื่อศึกษาประวัติ ความเป็นมาและเนื้อหาของจารึกวัดสุทัศน์ ๒ เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่ปรากฏในจารึกวัดสุทัศน์ และ ๓ เพื่อวิเคราะห์คุณค่าและการสร้างสรรค์ของจารึกวัดสุทัศน์ที่มีต่อสังคมไทย จารึกประกอบด้วยสามชุดปรากฏที่พระวิหารหลวงวัดสุทัศน์ ชุดแรก อธิบายอดีตพระพุทธเจ้า ๒๗ พระองค์ ชุดที่สอง อธิบายพระปัจเจกพุทธจานวน ๓๐ แผ่น และชุดที่สาม อธิบายโลกสัณฐาน จานวน ๓๒ แผ่น ผลการศึกษาพบว่า จารึกชุดแรกแหล่งที่มาจากคัมภีร์หลายคัมภีร์ ทั้งนี้เพราะคัมภีร์เหล่านั้นมีเนื้อหาเหมือนกัน คัมภีร์หลักที่ถูกอ้าอิงถึงมีหลายคัมภีร์ทั้งนี้เพราะมากที่สุดคือพระไตรปิฎกเป็นหลัก และคัมภีร์อรรถกถา คัมภีร์หลังอรรถกถาตามลาดับ จารึกชุดที่สอง เนื้อหามาจากคัมภีร์อรรถกถาเป็นหลัก และชุดที่สาม แหล่งที่มาจากอรรถกถาและคัมภีร์ชั้นหลังอรรถกถาตามลาดับจารึกทั้งสามชุดจารึกเนื้อหาปรากฏทั้งมีอิสระออกจากกัน ขณะเดียวกันก็ความหมายรวมกัน กล่าวคือ เมื่อรวมกันแล้วจารึกเหล่งนี้เป็นเหมือนกันคัมภีร์หนึ่งประกอบด้วย ๓ บท มีเนื้อหาแสดง “จักรวาลวิทยา” ซึ่งเนื้อหาสอดคล้องกับภาพจิตรกรรมที่เสาพระอุโบสถ ปฏิมากรรมและสถาปัตยกรรมที่เขตพุทธาวาสที่แสดงความหมายของ “จักรวาลวิทยา” เช่นกัน จารึกชุดที่สามแสดงโลกสัณฐานและบุคคลที่อยู่ในโลกทั้งภูมิ ได้แก่ สวรรค์ภูมิ มนุษย์ภูมิ และอบายภูมิ และคุณสมบัติของผู้ที่อยู่ในภูมิทั้งสาม บุคคลที่เป็นอุดมคติในภูมิทั้งสามคือพระปัจเจกพุทธและพระพุทธเจ้า ซึ่งปรากฏในจารึกที่สองและที่หนึ่ง จุดมุ่งหมายของจารึกที่จะแสดงมีความหมายเช่นเดียวกับคัมภีร์คือ แสดงหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนา หลักธรรมหลักที่แสดงในเนื้อหาจารึกที่สามก็คือหลักสังสารวัฎและหลักกรรมหลักกรรมเป็นหลักธรรมชาติที่มีผลตายตัวที่ผู้กระทาอย่างไรจะให้ผลเป็นเช่นนั้น หลักกรรมนี้มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของสังคมไทยมาช้านานจนถึงปัจจุบัน เช่นเดียวกับอดีตพระพุทธเจ้าที่แสดงอุดมคติสูงสุดของมนุษย์ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนที่บาเพ็ญบารมีอย่างยิ่งยวดแล้วเป็นพระพุทธเจ้าได้ ซึ่งเป็นหลักสากลของพระพุทธศาสนานั่นเอง | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | จารึก | en_US |
dc.subject | ที่่มา | en_US |
dc.subject | คุณค่า | en_US |
dc.title | จารึกวัดสุทัศน์: ที่มา หลักพุทธธรรมและคุณค่าทางสังคม | en_US |
dc.title.alternative | Wat Suthat’s Inscribe: Source, Buddhadhamma and Its Social Value | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2559_ดร.บูรกรณ์.pdf | 2.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.