Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/775
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เสรีชน, นริสสโร | - |
dc.contributor.author | เศรษฐบุตร, ชมกร | - |
dc.contributor.author | อุตสาหรัมย์, ชาตรี | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-30T10:10:44Z | - |
dc.date.available | 2022-03-30T10:10:44Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/775 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุการละเมิดพระธรรมวินัยของ พระสงฆ์ที่ส่งผลต่อวิกฤติศรัทธาของชาวพุทธในสังคมไทย และเพื่อเสนอแนวทางป้องกันและแก้ไข ปัญหาการละเมิดพระธรรมวินัยของพระสงฆ์ที่ส่งผลต่อวิกฤติศรัทธาของชาวพุทธตามหลักนิติปรัชญา เชิงบูรณาการ งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก สรุป ผลการวิจัยด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า พระสงฆ์เป็นตัวแทนของสถาบันพระพุทธศาสนาที่มีพระธรรมวินัย เป็นศาสดา โดยที่การบรรพชาหมายถึง การออกไปจากเรือนสู่ความไม่มีเรือน เป็นพระสงฆ์ที่มุ่งสละ อาศัยวัตถุแต่น้อยเพียงเท่าที่จาเป็นแก่การดารงชีวิตโดยไม่สะสม เพื่อต้องการทาให้นิพพานให้แจ้ง ขณะเดียวกันการบรรพชาระยะสั้นเป็นการเรียนรู้ที่จะฝึกฝนตนเองให้มีคุณค่า พัฒนาตนให้ก้าวสูงขึ้น ไปในไตรลักษณ์เพื่อให้เกิดปัญญา ก้าวที่สาคัญของการบรรลุธรรม ในสังคมไทยปัจจุบันที่มีลักษณะ สาคัญคือวัตถุนิยมและบริโภคนิยม ส่งผลให้พระสงฆ์ละเมิดพระวินัยใน ๒ รูปแบบคือ การประพฤติ วิปริตจากพระธรรมวินัย และการทาพระธรรมวินัยให้วิปริต ซึ่งมีสาเหตุและปัญหา ๑๐ ประการคือ ๑) ผู้ไม่มีความละอาย ๒) กระทาไปโดยไม่รู้ เช่น การขาดรู้เท่าทันสื่อไอที ๓) ภูมิหลังจากหลากหลาย วัฒนธรรม ชุมชน สังคม เช่นความเชื่อเรื่องอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ ๔) ศรัทธาที่มีต่อพระพุทธศาสนา ๕) บรรพชาตามใจกิเลส ๖) ตั้งใจกระทาแม้รู้ว่าละเมิด เช่นแปลงบุญเพื่อตอบสนองวัตถุนิยม และบริโภค นิยม ๗) ไม่เคร่งครัดในหลักไตรลักษณ์ ๘) การไม่กวดขัน ปล่อยปละละเลยของอุปัชฌาย์ และพระ เถระในสังฆะ ๙) อ่อนไหวต่อกิเลส ไม่ตั้งใจบวชเพื่อฝึกตนให้มีคุณค่า ๑๐) พระธรรมวินัยเป็นกรอบ ดารงการบรรพชา หากไม่ตั้งใจปฏิบัติจะส่งผลต่อศรัทธาชาวพุทธ โดยที่วิกฤติศรัทธาหมายถึง ลักษณะ ความเชื่อและความเลื่อมใสอยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของความคงอยู่และความเสื่อมถอย เกิดความลังเล สงสัย ไม่มีศรัทธาในความดี ความชั่ว และการทาจิตใจให้บริสุทธิ์ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการละเมิดพระธรรมวินัยของพระสงฆ์ที่ส่งผลต่อวิกฤติ ศรัทธาเป็นการดาเนินการที่เหตุปัจจัย ๒ ด้านคือ ๑) ปัจจัยภายนอกได้แก่ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎมหาเถรสมาคม จารีตประเพณี ๒) ปัจจัยภายใน ได้แก่ การทาให้พระสงฆ์ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ เพื่อให้เกิดคุณค่าแก่ตนเอง เกิดความตระหนักรู้ เกิดปัญญา ไม่ทาให้กิเลสครอบงา การแก้ไขการละเมิดพระธรรมวินัยของพระสงฆ์ที่ส่งผลต่อวิกฤติศรัทธาโดยการนาหลัก นิติปรัชญาเชิงบูรณาการ หมายความว่า เป็นการนากฎหมายธรรมชาติคือกฎเกณฑ์ของการดาเนิน ชีวิตร่วมกันอิงอาศัยเหตุผลถูกต้องตามหลักธรรมชาติและความยุติธรรมทางสังคม มาเติมเต็มบรรทัด ฐานของกฎหมายที่มีต่อบุคคลในสังคม เช่น พระวินัยที่ห้ามพระสงฆ์จับเงิน เมื่อบูรณาการพระธรรม วินัยและนิติปรัชญาเข้าด้วยกัน อุบาสกอุบาสิกาผู้มีศรัทธาถวายเงินแก่พระสงฆ์พึงกระทาด้วยปัญญา พระสงฆ์จับเงินเท่าที่จาเป็น ไม่จับเงินเพื่อจับจ่ายเช่นเดียวกับผู้ครองเรือน ทั้งต้องปลงอาบัติคือ ตระหนักรู้ว่าไม่ตรงตามพระวินัย ไม่เหมาะสาหรับผู้ไม่มีเรือน ทั้งฝึกตนเองให้มีคุณค่า ทานิพพานให้ แจ้ง นอกจากนี้แล้วอุบาสกอุบาสิกาอุปถัมภ์บารุงพระพุทธศาสนาก็ไม่ควรจัดหาของประณีตเกินความ จาเป็นแก่การดารงตนผู้ไม่มีเรือน | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | พระธรรมวินัย | en_US |
dc.subject | วิกฤติศรัทธา | en_US |
dc.subject | นิติปรัชญา | en_US |
dc.title | การป้องกันและแก้ไขปัญหาการละเมิดพระธรรมวินัยของพระสงฆ์ที่ส่งผล ต่อวิกฤติศรัทธาของชาวพุทธตามหลักนิติปรัชญา | en_US |
dc.title.alternative | Preventing and Solving the Discipline Violations of Buddhist Monks that Affect the Crisis of Buddhist Faith According to the Integration of Legal Philosophy | en_US |
dc.type | Other | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2558-157พระมหาเสรีชน นริสสโร.pdf | 3.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.