Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/773
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศรีนอก, สมชัย-
dc.contributor.authorศิริวัฒน์, ชวาล-
dc.contributor.authorวงศ์สุวรรณ, นิเวศน์-
dc.contributor.authorงานหมั่น, ศักดิ์ดา-
dc.date.accessioned2022-03-30T09:41:49Z-
dc.date.available2022-03-30T09:41:49Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/773-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องศีล ๕ ตามหลักคาสอน พระพุทธศาสนาเถรวาท, ๒) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนิสิตเกี่ยวกับการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้าน รักษาศีล ๕ ๓) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการขับเคลื่อนโครงการ หมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของพระนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กาหนดรูปแบบการวิจัย แบบผสมผสานวิธี (Mixed Research Method) โดยศึกษาจากแหล่งข้อมูลเชิงเอกสาร และ แหล่งข้อมูลบุคคล คือ พระนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จานวน ๔๗๓ รูป กาหนด กลุ่มตัวอย่างโดยการเปิดตารางกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของเคร็ซซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน ๒๑๔ รูป และพระสังฆาธิการ จานวน ๒๐ รูป เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured interview) และแบบสอบถามเกี่ยวกับ แนวทางพัฒนาบทบาทการมีส่วนร่วมในโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของพระนิสิต มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผลการวิจัย พบว่า ๑. ความคิดเห็นของพระนิสิตเกี่ยวกับแนวทางพัฒนาบทบาทการมีส่วนร่วมในโครงการ หมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของพระนิสิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ภาพรวม เห็นด้วยมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ข้อที่เห็นด้วยในระดับมาก ที่สุด คือ ขั้นตอนของการดาเนินงานโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ มีความยุ่งยากสลับซับซ้อนและการ ดาเนินงานล่าช้า รองลงมา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับเดียวกัน ๒ ข้อ คือ โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ช่วย ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนาเอาหลักศีล ๕ มาใช้ในการดาเนิน ชีวิตประจาวัน, พระนิสิตมีความสามารถในการให้คาแนะนาเกี่ยวกับการทากิจกรรมโครงการหมู่บ้าน รักษาศีล ๕ ให้แก่คณะกรรมการโครงการฯ และชาวบ้าน ข้อสุดท้ายพระนิสิตมีการให้คาปรึกษา แนะนา เกี่ยวกับการดาเนินงานโครงการให้กับคณะกรรมการระดับหมู่บ้าน ตาบล และอาเภอ ตามลาดับ ๒. ปัญหาและอุปสรรคในการขับเคลื่อนแนวทางพัฒนาบทบาทการมีส่วนร่วมในโครงการ หมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของพระนิสิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คือคณะกรรมการ โครงการขาดการประชุมติดต่อประสานงานกันอย่างต่อเนื่อง และไม่ทราบถึงบทบาทที่ชัดเจนในการ ทาหน้าที่ ส่วนใหญ่ไม่มีเวลาเข้าร่วมโครงการ ภายในชุมชนมีปัญหาความขัดแย้งในมิติต่าง ๆ ทาให้ ชาวบ้านแตกแยกขาดความร่วมมือกันในการทากิจกรรม ขาดผู้นาที่เป็นแบบอย่างที่ดี กิจกรรมการ รักษาศีล ๕ เป็นเพียงพิธีกรรมทางศาสนา ประชาชนขาดความตระหนักเห็นความสาคัญของศีล และ วัดที่อยู่ในชุมชนขนาดเล็กขาดงบประมาณในการบริหารจัดการโครงการ ๓. แนวทางส่งเสริมโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ คือ จัดตั้งคณะทางานพัฒนาศักยภาพ พระภิกษุสามเณรให้มีความรู้ความสามารถในการเผยแผ่ ส่วนคณะกรรมโครงการควรมีการจัดประชุม กันอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยเดือนละ ๒ ครั้ง ทั้งควรมีการร่วมกันระดมทุน การมอบหมายภาระหน้าที่ ที่ชัดเจน พระภิกษุผู้ปกครองในระดับต่าง ๆ ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสานงาน ภาครัฐควรมี การจัดประกาศยกย่องบุคคลผู้เป็นต้นแบบทางด้านศีลธรรมอย่างเป็นทางการ พระสงฆ์ผู้ทาหน้าที่ แนะนาประชาชนให้ตระหนักเห็นความสาคัญของศีล โดยการแนะนาให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องศีล ชี้ให้เห็นคุณประโยชน์ที่สังคมพึงได้รับ และชี้ให้เห็นถึงโทษของการล่วงละเมิดศีล ซึ่งควรมีการนัด ประชุมร่วมกันทากิจกรรมหมู่บ้านรักษาศีล ๕ อย่างน้อยเดือนละ ๒ ครั้ง โดยร่วมกันระดมความคิดหา กิจกรรมต่าง ๆ ที่หลากหลายมีความเหมาะสมสอดคล้องกับชุมชนen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectแนวทางพัฒนาบทบาทen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมen_US
dc.subjectหมู่บ้านรักษาศีล ๕en_US
dc.subjectพระนิสิตen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.titleแนวทางพัฒนาบทบาทการมีส่วนร่วมในโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของพระนิสิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeThe Way of Development Role Participation in the Project of the Village Training Five Precepts of Students of Mahachulalongkornrajavidyalayaen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-372 รศ.ดร.สมชัย สรีนอก.pdf3.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.