Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/770
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระครูวาปีจันทคุณ-
dc.contributor.authorอตฺถสิทฺโธ, พระอธิการสมหมาย-
dc.contributor.authorวราโภ, พระอธิการวงศ์แก้ว-
dc.contributor.authorอรัญญวาส, สุทธิพันธ์-
dc.contributor.authorสาผาง, สังเวียร-
dc.contributor.authorประเสริฐ, สนั่น-
dc.date.accessioned2022-03-30T09:37:42Z-
dc.date.available2022-03-30T09:37:42Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/770-
dc.description.abstractรายงานการวิจัย เรื่อง “รูปแบบการจัดการความรู้แหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดร้อยเอ็ด” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและสารวจแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการความรู้แหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ด และเพื่อวิเคราะห์รูปแบบการจัดการความรู้แหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาจังหวัดร้อยเอ็ด รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาใน ๕ ประเด็น ได้แก่ ๑) การประชาสัมพันธ์ ๒) การจัดทาฐานข้อมูล ๓) การอนุรักษ์โบราณคดี ๔) การปรับสภาพภูมิทัศน์เชิงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ๕) การจัดแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม, พื้นที่วิจัย ๘ แห่ง กลุ่มเป้าหมาย ๔๓ รูป/คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกการสนทนากลุ่มย่อย วิเคราะห์เนื้อหาโดยอุปนัยวิธี ผลการวิจัยพบว่า ๑) การประขาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์แหล่งโบราณคดีในจังหวัดร้อยเอ็ดยังมีน้อยมาก เพราะโดยมากเป็นโบราณคดีที่ไม่มีชื่อเสียง การประชาสัมพันธ์ที่ปรากฏ เช่น เว็บไซต์การท่องเที่ยวของจังหวัดร้อยเอ็ด เว็บไซต์พระเครื่อง เป็นต้น การประชาสัมพันธ์นอกนี้โดยมากจะเป็นการประชาสัมพันธ์การจัดงานประจาปี หรือการประชาสัมพันธ์ตามบูทเวลาจัดงาน ๒) การจัดทาฐานข้อมูล โบราณคดีทั้งหมดไม่มีการจัดทาฐานข้อมูล เพราะขาดความรู้และความสนใจ ส่วนมากเห็นว่าโบราณคดีนั้นๆ ก็เป็นข้อมูลให้ศึกษาและท่องเที่ยวในตัวแล้ว และทางสถานที่ก็ไม่มีงบประมาณเรื่องดังกล่าวโดยตรง ดังนั้นจึงไม่มีแรงจูงใจที่จะทา แนวทางในการจัดทาฐานข้อมูล ควรมีการสร้างเครือข่ายแล้วรวบรวมข้อมูลของสมาชิกเครือข่ายสร้างฐานข้อมูล เครือข่ายทั้งหมดสามารถเข้าถึงข้อมูลเดียวกัน ๓) การอนุรักษ์โบราณคดี พระสงฆ์ที่ดูแลโบราณคดีมีส่วนร่วมในการดูแลโบราณสถานไม่ให้ถูกทาลายหรือเสียหาย หากมีการชารุดทรุดโทรม ก่อนจะบูรณะซ่อมแซมก็ต้องแจ้งกรมศิลปากรก่อนแล้วจึงสามารถดาเนินการได้ตามพระราชบัญญัติที่กรมศิลปากรกาหนดไว้ โบราณคดีในจังหวัดร้อยเอ็ดโดยมากไม่ค่อยมีปัญหากับการอนุรักษ์ เพราะได้รับการชี้แจงเรื่องกฎหมายและวิธีการอนุรักษ์โบราณคดีจากเจ้าหน้าที่กรมศิลปากรแล้ว บางแห่งเคยมีปัญหาเรื่องการบูรณะโบราณคดี เพราะทาโดยพลการ ไม่ได้แจ้งกรมศิลปากรก่อน ๔) การปรับสภาพภูมิทัศน์เชิงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว แหล่งโบราณคดีในจังหวัดร้อยเอ็ดโดยมากไม่มีการปรับภูมิทัศน์ ดังนั้น จึงทาให้ขาดความสวยงามและเหมาะแก่การท่องเที่ยว ที่มีการจัดสภาพภูมิทัศน์คือปลูกต้นไม้ประดับบริเวณโบราณคดีมีน้อย สถานที่ตั้งโบราณคดีขาดงบประมาณดาเนินการ ดังนั้นจึงไม่สามารถทาได้ กรมศิลปากรควรได้มีงบประมาณสนับสนุนในส่วงน นี้ ซึ่งจะเป็นการได้เพิ่มมูลค่าโบราณคดีทั้งในแง่รายได้สาหรับพัฒนากายภาพและความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ๕) การจัดแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม โบราณสถาน/โบราณคดีทั้งหมดขาดการจัดแหล่งเรียนรู้เชิงวัฒนธรรม ทั้งนี้เพราะผู้ดูแลไม่มีองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดแหล่งเรียนรู้ ขาดทุนทรัพย์ รวมทั้งขาดแรงจูงใจในการจัดแหล่งเรียนรู้อีกด้วย และเห็นว่าโบราณคดีก็เป็นแหล่งเรียนรู้ในตัวอยู่แล้ว ไม่มีความจาเป็นต้องจัดแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติมอีก ในส่วนของแนวทางการพัฒนาโบราณคดีให้เป็นแหล่งเรียนรู้ สามารถทาได้ในรูปแบบหนังสือ แผ่นพับ หนังสือภาพ โปสเตอร์ เป็นต้น เว็บไซต์ เว็บเพจ เป็นต้นen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectรูปแบบการจัดการen_US
dc.subjectแหล่งโบราณคดีen_US
dc.subjectพระพุทธศาสนาen_US
dc.subjectจังหวัดร้อยเอ็ดen_US
dc.titleรูปแบบการจัดการความรู้แหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดร้อยเอ็ดen_US
dc.title.alternativeKnowledge Management Model of Buddhist Archeology In Roi-Et Provinceen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2559-196 พระครูวาปีจันทคุณ.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.