Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/764
Title: ชุมชนสีเขียววัดสีขาว: รูปแบบการจัดการพื้นที่สาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม และความโปร่งใสของวัดและชุมชนในจังหวัดพิจิตร
Other Titles: Green community, White temple: Environmental public space management model And transparency of temples and communities in Phichit Province
Authors: พระครูวิโชติสิกขกิจ
พระครูพิทูรนคราภิรักษ์
พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์
คล้ายธานี, สุภางค์พิมพ์
นิกรกุล, ปริญญา
Keywords: ชุมชนสีเขียว
วัดสีขาว
พื้นที่สาธารณะ
สิ่งแวดล้อม
ความโปร่งใส
จังหวัดพิจิตร
Issue Date: 2562
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการจัดการสิ่งแวดล้อมและความโปร่งใสของ วัดและชุมชน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการพื้นที่สีเขียวและการสร้างความโปร่งใส 3) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบของการสร้างชุมชนสีเขียวและวัดสีขาวในจังหวัดพิจิตร เป็นการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR = Participatory Action Research) รวบรวมข้อมูลโดย การวิจัยเอกสาร การวิจัยภาคสนาม ประกอบด้วย การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การสนทนากลุ่ม การจัดเวทีทาความเข้าใจ ผู้ให้ข้อมูลสาคัญที่ใช้ในการศึกษา จานวน 40 รูป/คน การตรวจสอบข้อมูล แบบสามเส้าด้านวิธีรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา และอธิบายด้วยวิธี พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยความโปร่งใสประกอบด้วย 2 ประเด็นหลัก 11 ประเด็น ย่อยซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ การจัดการสิ่งแวดล้อม ได้แก่ 1) การสร้างพื้นที่สีเขียว 2) แหล่งเรียนรู้ 3) กา รอนุรัก ษ์ 4) กา รล ดพลังง าน แล ะค ว าม โ ป ร่ง ใส ได้แก่ 1) ก าร ปฏิบัติห น้า ที่ 2) การใช้งบประมาณ 3) การใช้อานาจ 4) การแก้ไขปัญหาการทุจริต 5) การปรับปรุงระบบการ ทางาน 6) การเปิดเผยข้อมูล 7) การป้องกันการทุจริต 2. การปรับภูมิทัศน์เพิ่มพื้นที่สีเขียวบริเวณวัดให้สอดคล้องกับกิจกรรมทางศาสนาให้ เหมาะแก่การพักผ่อนและปฏิบัติธรรมโดยยึดธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่เดิมพร้อมทั้งการ ปรับปรุงใหม่ ดาเนินการในรูปแบบคณะกรรมการวัดทุกขั้นตอนโครงการหรือกิจกรรมภายในวัดมีการ ปรึกษาหารือกันมีการรายงานให้คนในชุมชนรับรู้รับทราบและสามารถตรวจสอบได้เพื่อลดข้อครหา ระหว่างเจ้าอาวาสและชุมชน ใช้ความร่วมมือในการบริหารจัดการเพื่อยกระดับหน่วยงานในด้าน คุณธรรม สิ่งแวดล้อม และความโปร่งใสในการดาเนินงาน 3. การเปิดพื้นที่ภายในวัดเป็นที่สาธารณะสาหรับประชาชน เปิดพื้นที่ของวัดให้ส่วน ราชการมาขอใช้พื้นที่ ตกแต่งสถานที่ให้สวยงามสะอาดตา เพื่อเป็นพื้นที่ออกกาลังกาย และพักผ่อน หย่อนใจ และกิจกรรมในทางศาสนา จัดพื้นที่บริเวณลานวัดเพื่อเปิดเป็นตลาดนัดเพื่อสร้างรายได้ สาหรับคนในและนอกพื้นที่ทุกสัปดาห์ ตามวัน เวลา และการบริหารจัดการของแต่ละวัด เป็นต้น
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/764
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2562-035พระครูวิโชติสิกขกิจ.pdf6.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.