Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทั่งทองมะดัน, เสฐียร-
dc.date.accessioned2022-03-30T09:24:12Z-
dc.date.available2022-03-30T09:24:12Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/763-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ ๓ อย่างคือ ๑) เพื่อศึกษารวบรวมและจัดหมวดหมู่เอกสารคัมภีร์โบราณทางพระพุทธศาสนาของวัดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒) เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาและจัดทาดรรชนีค้นคาของเอกสารคัมภีร์โบราณทางพระพุทธศาสนาของวัดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ๓) เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์เอกสารคัมภีร์โบราณเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมของวัดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นการวิจัยเชิงสารวจคัมภีร์ใบลานของวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔ จังหวัดคือ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ขอนแก่น และอุบลราชธานี ผลการศึกษาพบว่า คัมภีร์ใบลานจะเขียนเอาไว้ด้วยอักษรขอม อักษรธรรมอีสาน อักษรไทยน้อย ภาษาที่ใช้เขียนคือภาษาบาลี ภาษาไทย ภาษาไทยอีสาน เรื่องราวที่เขียนเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย เรื่องราวในพระไตรปิฎกคือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก พระธรรมเทศนาต่าง ๆ คัมภีร์ไวยากรณ์ เวสสันดรชาดก นิทานพื้นบ้านต่าง ๆ ในด้านการวิเคราะห์เนื้อหา ผู้วิจัยได้คัดเลือกคัมภีร์ใบลานมา ๔ เรื่อง โดยปริวรรตเป็นอักษรไทย และศึกษาวิเคราะห์เนื้อหา ในด้านการส่งเสริมการอนุรักษ์เอกสารคัมภีร์โบราณเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมของวัดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้วิจัยได้สารวจคัมภีร์ใบลานใน ๔ จังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดทาบัญชีรายชื่อ จัดหมวดหมู่เรื่องราว เขียนรายชื่อใบลานไว้ทุกผูก ห่อด้วยผ้าห่อคัมภีร์ มอบให้กับทางวัดที่เป็นเจ้าของใบลาน จัดเก็บไว้ในตู้ ทาเป็นแหล่งการเรียนรู้ ให้ชุมชนได้มามีส่วนร่วมทุกขั้นตอนของการสารวจen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสืบค้นen_US
dc.subjectการอนุรักษ์en_US
dc.subjectคัมภีร์โบราณen_US
dc.subjectแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นen_US
dc.subjectภาคตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.titleการสืบค้นและการจัดระบบการอนุรักษ์เอกสารคัมภีร์โบราณของวัด และการถ่ายทอดภูมิปัญญาตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อสร้างแหล่ง เรียนรู้ในท้องถิ่นของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.title.alternativeThe Ascertainment and Recreational System the the Ancient Scriptures Kept in Monasteries and Publicizing Northeast Wisdom to up rise a Local Learning Source in Northeast Thailand Provincesen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2559-053 เสฐียร ทั่งทองมะดัน.pdf5.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.