Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/746
Title: การสร้างคลังคาศัพท์ภาษาอังกฤษภายในแหล่งโบราณสถาน ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนในจังหวัดนครสวรรค์
Other Titles: Creating an English Glossary for the Archaeological Sites Officially Registered in Nakhonsawan Province
Authors: ชูมา, ทวีศักดิ์
สำเนียง, ปฏิธรรม
บุญจันดา, ภาวิณี
Keywords: คลังคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย
แหล่งโบราณสถาน
Issue Date: 2560
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยเรื่อง การสร้างคลังคาศัพท์ภาษาอังกฤษภายในแหล่งโบราณสถานที่ได้รับการขึ้น ทะเบียนในจังหวัดนครสวรรค์ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย ประกอบไปด้วย ๑) เพื่อสารวจคาศัพท์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษภายในแหล่งโบราณสถานที่ได้รับการขึ้นทะเบียนในจังหวัดนครสวรรค์ ๒) เพื่อ สร้างคลังคาศัพท์ภาษาอังกฤษภายในแหล่งโบราณสถานที่ได้รับการขึ้นทะเบียนในจังหวัดนครสวรรค์ ๓) เพื่อนาองค์ความรู้ที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและเพิ่มมูลค่าทุนทางปัญญา เครือข่ายชุมชน และแหล่ง ความรู้ด้านประวัติศาสตร์โบราณคดีในจังหวัดนครสวรรค์และแหล่งท่องเที่ยวระดับประเทศ งานวิจัยนี้เป็น งานวิจัยใช้ระเบียบวิจัยเชิงผสมผสาน (mixed method research) โดยใช้รูปแบบเชิงผสมผสานแบบ อธิบาย (explanatory design) เพื่อให้การวิจัยมีสาระครอบคลุมครบถ้วนเหมาะสาหรับนาไปใช้จริง ผลการวิจัยพบว่า ๑) ฐานข้อมูลในการสารวจคาศัพท์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษภายในแหล่งโบราณสถานที่ได้รับ การขึ้นทะเบียนในจังหวัดนครสวรรค์ มีจานวน ๑๕ แหล่ง (จากทั้งหมดจานวน ๔๑ แหล่ง รวมที่ไม่ได้รับ การขึ้นทะเบียน) โดยปัจจุบันบางแหล่งไม่เหลือร่องรอยความเป็นโบราณสถานแล้ว ๒) คลังคาศัพท์ภาษาอังกฤษที่สร้างขึ้นภายในแหล่งโบราณสถานที่ได้รับการขึ้นทะเบียนใน จังหวัดนครสวรรค์ จานวน ๑๕ แหล่ง กระจายอยู่ใน ๑๑ อาเภอ มีคาศัพท์ที่พบบ่อย จานวน ๓๑๘ คา และนามาแปลเป็นภาษาไทยเพื่อสามารถนาไปใช้จริง ๓) องค์ความรู้ที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและเพิ่มมูลค่าทุนทางปัญญา เครือข่ายชุมชน และ แหล่งความรู้ด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี ดังนี้ ๓.๑) ผู้เชี่ยวชาญประเมินประสิทธิภาพและประโยชน์ของ คู่มือคลังคาศัพท์ภาษาอังกฤษในแหล่งโบราณสถานที่ได้รับการขึ้นทะเบียนในจังหวัดนครสวรรค์ในภาพ รวมอยู่ในระดับมากที่สุด ๓.๒) คุณภาพของคู่มือคลังคาศัพท์โดยภาพรวมจากทุกกลุ่มของผู้ตอบ แบบสอบถามพบว่ามีความพึงพอใจของกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างชาติ นักท่องเที่ยวชาวไทย นักสื่อสารประวัติ ในแหล่งโบราณคดี และเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ๓.๓) องค์ความรู้ที่ได้ไปพัฒนา คุณภาพชีวิตและเพิ่มมูลค่าทุนทางปัญญา เครือข่ายชุมชน และแหล่งความรู้ด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี ในจังหวัดนครสวรรค์และแหล่งท่องเที่ยวระดับประเทศได้จริง
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/746
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-326ทวีศักดิ์ ชูมา.pdf4.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.