Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/743
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นิเทศศิลป์, วรวิทย์ | - |
dc.contributor.author | ขอดศิริ, ชวลิต | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-30T08:52:33Z | - |
dc.date.available | 2022-03-30T08:52:33Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/743 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการเรียนการสอนเรื่องการทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนาแบบบูรณาการ, เพื่อศึกษาพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอน และถอด บทเรียนในการจัดการเรียนการสอนเรื่องการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนาแบบบูรณาการ ผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ สามารถกล่าวโดยสรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรมบูรณาการท้องถิ่นล้านนา พบว่าแดนดินล้านนาทางภาคเหนือของประเทศมีสีสันทาง วัฒนธรรมที่หลากหลายที่จะศึกษาเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ท้องถิ่นรวมศิลปะหลากวัฒนธรรม กลิ่นอายวัฒนธรรมล้านนาสามารถสัมผัสได้ภายใต้แหล่งเรียนรู้ที่มี ชีวิตดังนี้ งามเงินเครื่องเขินล้าค่าวัดศรีสุพรรณ , ลายแกะไม้ชุมชนสองฝั่งคลองบ้านถวาย และ หมู่บ้านปั้นดินยิ้มได้บ้านป่าตาล ส่วนการศึกษาพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอน ผู้วิจัยสัมผัส โดยตรงสังเกตเห็นผู้เรียนมีความภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาวัฒนธรรมล้านนา เกิดความสนใจ ใคร่รู้เป็นอย่างมาก สนทนาแลกเปลี่ยนความรู้จากปราชญ์ชาวบ้าน ได้โอกาสสร้างสรรค์ออกแบบและ ผลิตชิ้นงาน และการถอดบทเรียนการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนาแบบบูรณาการ สามารถสกัดองค์ความรู้ได้ ๓ ด้าน คือ ๑) ด้านแหล่งเรียนรู้มีวัฒนธรรมสถานที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนาแบบบูรณาการได้ ๒) ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนา การทา ให้ภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมให้คงอยู่ ควรสืบสานอนุรักษ์ประเพณีอย่างสร้างสรรค์จารีตประเพณี สิบสองเดือนบรรจุไว้ในบทเรียนทุกช่วงชั้น และ ๓) ด้านอนาคต องค์กรสถานศึกษาทุกระดับมี บทบาทสาคัญต่อการบูรณาการการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ครูผู้สอนเป็นโค้ช ทาการเรียนรู้ให้น่าสนใจ เน้นการฝึกทักษะผ่านกิจกรรมในแหล่งชุมชนสร้างสรรค์ มองเห็นคุณค่าในท้องถิ่นร่วมกันโดยไม่ลืมรากเหง้า และภูมิปัญญาที่บรรพบุรุษของไทยจรรโลงและสืบ ทอดจากรุ่นสู่รุ่นอย่างแท้จริง | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การบูรณาการ | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนการสอน | en_US |
dc.subject | การทำนุบารุงศิลปวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | ท้องถิ่นล้านนา | en_US |
dc.title | การบูรณาการการเรียนการสอนด้วยวิธีการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนา | en_US |
dc.title.alternative | An Integrated Instruction with Art and Cultural Preservation for Lanna Community | en_US |
dc.type | Other | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-003 วรวิทย์ นิเทศศิลป์.pdf | 7.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.