Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/739
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorตปสีโล, พระใบฎีกาสุพจน์-
dc.contributor.authorหอมสมบัติ, พูลศักดิ์-
dc.contributor.authorจันทราช, นคร-
dc.contributor.authorศรีหะมงคล, กวีพล-
dc.date.accessioned2022-03-30T07:56:44Z-
dc.date.available2022-03-30T07:56:44Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/739-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ประกอบด้วย ๑)เพื่อศึกษาความต้องการด้านสวัสดิการของผู้พิการในสังคมไทย ๒) เพื่อศึกษาความพร้อมและการพัฒนาความพร้อมในการดาเนินการสวัสดิการสาหรับผู้พิการในสังคมไทย ๓) เพื่อเสนอกลไกขับเคลื่อนนโยบายและการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับผู้พิการในสังคมไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานทั้งวิจัยในเชิงเอกสาร(Documentary Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) ในภาคสนาม โดยใช้วิธีวิทยาวิจัยแบบผสมผสาน โดยกาหนดกลุ่มเป้าหมาย คือองค์กร ๔ แห่ง กระจายตามหน่วยงานในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี เชียงใหม่ นครราชสีมาและชลบุรี เป็นเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เน้นองค์กรที่มีบทบาทที่เกี่ยวข้องกับการใช้นโยบายและจัดสวัสดิการสาหรับผู้พิการ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการสวัสดิการสังคมผู้พิการจานวน ๘ รูป/คน และผู้พิการที่รับบริการสวัสดิการสังคม จานวน ๒๙ รูป/คน รวมทั้งสิ้น ๓๗ รูป/คน ส่วนเครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ ผลวิจัย จากการศึกษาพบว่าความต้องการด้านสวัสดิการของผู้พิการในสังคมไทย บุคคลทุกคนในสังคมมีความต้องการให้ชีวิตของตนประสบความสาเร็จในด้านต่าง ๆ ซึ่งสิ่งที่กล่าวมานี้ไม่เว้นแม้แต่ผู้พิการ เมื่อบุคคลได้รับการตอบสนองความต้องการแล้วก็จะมีความสุข และมีความพึงพอใจในชีวิต ซึ่งการได้รับการตอบสนองความต้องการจะส่งผลให้บุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น ๑) การมีสุขภาพอนามัยที่ดี ๒) การมีการศึกษาที่ดี ๓) การมีที่อยู่อาศัย ๔) การมีงานทา การมีรายได้และการมีสวัสดิการแรงงาน ๕) การมีความมั่นคงทางรายได้ ๖) นันทนาการ ๗) การบริการสังคมทั่วไป ด้วยสภาพปัญหา ความต้องการของผู้พิการไทยดังกล่าว ซึ่งสอดคล้องกับอานาจหน้าที่ในการดาเนินการติดตามตรวจสอบการเข้าถึงสิทธิของผู้พิการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเสริมพลังผู้พิการ สร้างโอกาสและความเท่าเทียมในสังคม ทาให้สังคมได้ประจักษ์ว่าผู้พิการไทยเป็นพลเมืองที่มีผลิตภาพ สามารถดารงตนอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรี ซึ่งจะส่งผลต่อการเป็นสังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันสาหรับทุกคน ส่วนการพัฒนาความพร้อมในการดาเนินการสวัสดิการสาหรับผู้พิการในสังคมไทยในปัจจุบันอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านในหลายๆด้านทั้งเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่การขับเคลื่อนการดาเนินงานในระดับพื้นที่ในปัจจุบันไดเกิดกลไกของศูนยบริการผู้พิการระดับจังหวัด และศูนยบริการผู้พิการทั่วไปขององคกรด้านผู้พิการและองค์กรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆซึ่งจะทาให้ ผู้พิการในพื้นที่ได้เขาถึงบริการมากยิ่งขึ้นนับว่าเป็นจุดแข็งและจุดสาคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการของประเทศไทยในปัจจุบัน นอกจากกลไกต่าง ๆ ข้างต้นแล้วสภาพแวดล้อมและบริการสาธารณะของประเทศไทยก็ยังไม่เอื้อต่อการดารงชีวิตของผู้พิการ ทั้งที่อยู่อาศัย อาคารสถานที่ต่าง ๆ สถานท่องเที่ยว ระบบคมนาคมขนส่ง รวมถึงเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้พิการก็ยังมีราคาที่ค่อนข้างสูง ทาให้ผู้พิการที่มีฐานะยากจนไม่สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จริง ผู้พิการส่วนใหญ่ยังมีข้อจากัดในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆของสังคมการมส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย การถูกเลือกปฏิบัติผู้พิการส่วนใหญ่และ นโยบายและการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับผู้พิการในสังคมไทย ได้แก่ ๑)สวัสดิการด้านการศึกษา ควรสนับสนุนการสร้างศูนย์การเรียนรู้สาหรับผู้พิการระดับชุมชน หรือศูนย์ให้บริการความรู้ด้านการดูแลสุขภาพและสวัสดิการที่รัฐบาลจัดให้ ศูนย์ดังกล่าวยังทาหน้าที่ติดต่อประสานให้ ผู้พิการ และผู้ดูแลได้รับสิทธิในการพัฒนาตนเองที่จะนาความรู้ที่ได้รับการพัฒนาไปสร้างรายได้เลี้ยงชีพและครอบครัว จะเป็นการเปิดโอกาสให้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชนและดารงชีวิตร่วมกับสังคมอย่างปกติทั่วไป ๒) สวัสดิการด้านการแพทย์ นโยบายสนับสนุนศาสนสถานเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ เนื่องจากพบว่ามีวัดบางแห่งมีความพร้อมที่จะบริการให้ความสะดวกเพื่อช่วยเหลือเหลือผู้พิการที่เน้นเรื่องสมาธิบาบัด และธรรมชาติบาบัด ได้แก่ การใช้ยาสมุนไพร ที่สาคัญคือ การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ทัศนคติและการกินอยู่ให้ถูกต้อง สอดคล้องกับหลักธรรมะ ในพระพุทธศาสนา การจัดกิจกรรมธรรมะโอสถคือ เมื่อผู้พิการเข้ามารักษาหลักธรรมะจะช่วยได้ทั้งการรักษาทางกาย และใจ เปลี่ยนแปลงชีวิตด้วยธรรมะ “จิตเราสามารถหาความสุขได้จากร่างกายที่พิการ เพียงแต่ว่าต้องศึกษาเรื่องของชีวิตให้เข้าใจ โดยอาศัยหลักธรรมะ” สิ่งนี้แสดงให้เห็นว่าถึงผู้พิการจะยังสงสัยเรื่องอุปสรรคแต่ในส่วนลึกแล้วยังเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองว่ามิได้ด้อยไปกว่าผู้ปกติแต่อย่างใด ๓) สวัสดิการด้านอาชีพ พัฒนาความสามารถและศักยภาพของคนพิการให้มีประสิทธิภาพ การจัดหางานจากสถานประกอบการจากรัฐและเอกชน การกู้ยืมเงินเพื่อการประกอบ ๔)สวัสดิการด้านสังคม บริการทางสังคมมีความแตกต่างจากการบริการสาธารณะและการสาธารณูปโภคเพราะเป็นบริการที่เน้นส่งเสริมสวัสดิภาพทางสังคมที่ดีของผู้พิการ ๕)สวัสดิการด้านการฟื้นฟูจิตใจด้วยพระพุทธศาสนา ความคาดหวังที่ผู้พิการต้องการให้องค์กรทางพระพุทธศาสนามาช่วยเสริมสร้างพลังในการดารงชีวิตจัดสภาพแวดล้อมภายในวัดที่เหมาะสมผู้พิการ นอกจากนั้นควรผลิตสื่อธรรมะที่เหมาะสมกับผู้พิการแต่ละประเภท จัดที่พักสาหรับผู้พิการที่มีความต้องการศึกษาปฏิบัติธรรม ส่งเสริมบทบาทพระสงฆ์กับการช่วยเหลือผู้พิการและจัดทาคู่มือคาสอนของพระพุทธศาสนากับแนวทางในการดารงชีวิตสาหรับผู้พิการจะทาให้ตระหนักถึงความจาเป็นในการส่งเสริม วิธีคิดในแนวพระพุทธศาสนา เป็นอย่างยิ่ง เพราะการคิดที่รู้เท่าทันสรรพสิ่ง จะขจัดความทุกข์อื่นที่มีอิทธิพลให้ลดน้อยลงได้en_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการใช้นโยบายen_US
dc.subjectการจัดสวัสดิการen_US
dc.subjectผู้พิการในสังคมไทยen_US
dc.titleการใช้นโยบายและการจัดสวัสดิการสาหรับผู้พิการในสังคมไทยen_US
dc.title.alternativeUsing the Policies and Management Welfare for Disable People in Thai Societyen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-087-พระใบฎีกาสุพจน์-ตปสีโลดร..pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.