Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/732
Title: อัตลักษณ์กับการท่องเที่ยว : ศึกษาการนำอัตลักษณ์มาใช้กับการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมของอาเซียน
Other Titles: Identity and Tourism : The Study of Applying Identity for Cultural Tourism in ASEAN
Authors: บริบูรณ์, บูรกรณ์
Keywords: อัตลักษณ์กับการท่องเที่ยว
เชิงวัฒนธรรมอาเซียน
Issue Date: 2560
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: แผนงานวิจัยอัตลักษณ์กับการท่องเที่ยว ศึกษาการนาอัตลักษณ์มาใช้เพื่อการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมในอาเซียน นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาการดารงอยู่และการสืบสานอัตลักษณ์ของแหล่งมรดกโลกในอาเซียน และ ๒) ศึกษาบทบาทของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในการสนับสนุนและส่งเสริม ให้เกิดการดารงอยู่ของอัตลักษณ์และวัฒนธรรมในแหล่งวัฒนธรรมสาคัหหรือแหล่งวัฒนธรรมสาคัหหรือแหล่งมรดกโลกฮอยอัน ประเทศเวียดนาม แหล่งมรดกโลกพระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย แหล่งมรดกโลกหลวงพระบาง ประเทศลาว ปราสาทนครวัด ประเทศกัมพูชา และเมืองโบราณพุกาม ประเทศพม่า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาจากเอกสาร การสังเกตและการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสาคัหในท้องถิ่น ผลการวิจัยพบว่า ๑) การดารงอยู่และการสืบสานอัตลักษณ์ จากเกิดจากการเห็นคุณค่าและความสาคัหของการอนุรักษ์ต่อเศรษฐกิจท้องถิ่นจากการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ผ่านช่องทางการสร้างรายได้ เช่น การนาอัตลักษณ์ไปใช้เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว การนาไปทาของที่ระลึก ผ่านแนวคิดการสร้างชาติ การอนุรักษณ์บนพื้นฐานความเชื่อและพิธีกรรมของคนในพื้นที่ อย่างไรก็ตามการอนุรักษ์ตามแนวทางของ UNESCO ในการจัดการแหล่งท่องเที่ยวและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็นกระบวนการสร้างความสานึกในคุณค่าให้กับชุมชน และสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการอนุรักษ์ โดยการสนับสนุนจากองค์กรต่างประเทศ มีสาคัหต่อการอนุรักษ์อัตลักษณ์ในแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก และในเมืองโบราณ มากที่สุด และ ๒) การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในการสนับสนุนและส่งเสริม ให้เกิดการดารงอยู่ของอัตลักษณ์ เกิดจากเหตุผลสามประการคือ การพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อมุ่งหวังด้านเศรษฐกิจควบคู่ไปกับด้านสังคมและวัฒนธรรมโดยเน้นการอนุรักษ์อัตลักษณ์ ให้คงสภาพเดิมมากที่สุด โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น โดยเฉพาะผู้เชี่ยวชาหด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมท้องถิ่น แต่ยังต้องอาศัยเทคโนโลยี และองค์ความรู้จากภายนอก ทั้งนี้การบริการจัดการด้านงบประมาณ มาจากหลากหลายทาง ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภายในประเทศ องค์กรต่างประเทศ หน่วยงานเอกชนในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนประชาชนท้องถิ่น ที่มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการเพื่อการและมีการใช้เทคนิคและทักษะที่เหมาะสมร่วมกับความรู้ในท้องถิ่นภายใต้หลักการของการอนุรักษ์เพื่อคงอัตลักษณ์ดั้งเดิมมากที่สุดในแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลกและเมืองโบราณ อัตลักษณ์กับเส้นทางการท่องเที่ยวเมืองมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งห้าแห่ง มีความเชื่อมโยงกันสองประการคือความเชื่อมโยงอัตลักษณ์ในมิติด้านสถาปัตยกรรม ที่เกี่ยวข้องกับพุทธศิลป์ ได้แก่ โบสถ์ วิหาร เจดีย์ วัดทางพุทธศาสนา และความเชื่อมโยงอัตลักษณ์ในมิติประวัติศาสตร์ ที่เป็นผลสืบเนื่องจากความเชื่อต่อศาสนา การเมือง ดังนั้นควรส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเมืองมรดกโลกทั้งสองเส้นทาง ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ให้กับนักท่องเที่ยว
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/732
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-014 บูรกรณ์ บริบูรณ์.pdf4.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.