Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/729
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทวะชาลี, เรียงดาว-
dc.contributor.authorกัปโก, ธีร์ดนัย-
dc.date.accessioned2022-03-29T09:51:37Z-
dc.date.available2022-03-29T09:51:37Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/729-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์คือ ๑) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้สูงอายุหลังวัยเกษียณของอาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ๒) เพื่อศึกษาการดารงชีวิตอย่างมีความสุขตามแนวทางพระพุทธศาสนา และ ๓) เพื่อเสนอรูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้สูงอายุหลังวัยเกษียณในการดารงชีวิตอย่างมีความสุขตามแนวทางพระพุทธศาสนาของอาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสาคัญ ได้แก่ ผู้สูงอายุซึ่งเป็นสมาชิกสมาคมข้าราชการบาเหน็จบานาญและผู้สูงอายุจังหวัดขอนแก่น โดยการเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ๑) สมาชิกสมาคมข้าราชการบาเหน็จบานาญและผู้สูงอายุจังหวัดขอนแก่น จานวน ๑๐ คน ๒) ครอบครัวผู้สูงอายุจานวน ๑๐ คน ๓) เจ้าหน้าที่ภาครัฐผู้เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ จานวน ๕ คน และ ๔) พระสงฆ์ จานวน ๕ รูปรวมทั้งสิ้น จานวน ๓๐ รูป/คนเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การสนทนากลุ่ม (Focus Group) ระดมความคิดร่วมกันการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ๑. สภาพทั่วไปของการส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้สูงอายุหลังวัยเกษียณของอาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น พบว่า มีการส่งเสริมกิจกรรมด้านการดูแลสุขภาพ การออกกาลังกาย การเต้นรา การขับร้องเพลง การส่งเสริมการแต่งกายตามนโยบายของจังหวัด กิจกรรมการกุศล การสนับสนุน ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้สมาชิกประกอบอาชีพหารายได้เสริม รวมถึงกิจกรรมการท่องเที่ยว ทัศนศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากสถานที่จริง นอกจากนี้การที่จะขับเคลื่อนให้กิจกรรมดังกล่าวสาเร็จได้จาเป็นต้องการอาศัยการส่งเสริมจากกระทรวงตลอดถึงหน่วยงานและองค์กรทางสังคม ๒. การดารงชีวิตอย่างมีความสุขตามแนวทางพระพุทธศาสนามีความหลากหลาย แต่จากผลการวิจัย พบว่า หลักภาวนา ๔ สามารถนามาปรับใช้กับการพัฒนาชีวิตให้มีความเจริญงอกงาม อันประกอบด้วย ๔ ประการ คือ ๑) กายภาวนา ๒) สีลภาวนา ๓) จิตตภาวนา และ ๔) ปัญญาภาวนา ๓. รูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้สูงอายุหลังวัยเกษียณในการดารงชีวิตอย่างมีความสุขตามแนวทางพระพุทธศาสนาของอาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น พบว่า KSCP AGING MODEL ประกอบด้วยกิจกรรม ๔ ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ ๑ กายภาวนา (K: Kaya) คือ จัดกระทาฐานข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับสมาชิกสมาคมฯ ขั้นตอนที่ ๒ สีลภาวนา (S: Sila) คือ รวบรวม และจัดทาองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้สูงอายุ ขั้นตอนที่ ๓ จิตตภาวนา (C: Citta) คือ จัดพื้นที่สนับสนุนการเรียนรู้ในการดารงชีวิตอย่างมีความสุขตามแนวทางพระพุทธศาสนา ขั้นตอนที่ ๔ ปัญญาภาวนา (P: Panna) คือ สร้างความต่อเนื่องทางกิจกรรมโดยการกระตุ้นให้สมาชิกค้นหาความรู้เพิ่มเติม จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ และองค์ความรู้ที่ได้จากการสืบค้น ที่สาคัญการส่งเสริมการเรียนรู้สาหรับผู้สูงอายุจาเป็นต้องอาศัยปัจจัย ๓ อย่าง คือ ๑) การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๒) การส่งเสริมการเรียนรู้จากชุมชน ๓) การส่งเสริมการเรียนรู้จากเครือข่ายทางสังคมen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectรูปแบบการเรียนรู้en_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขen_US
dc.subjectแนวทางพระพุทธศาสนาen_US
dc.titleรูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้สูงอายุหลังวัยเกษียณในการดารงชีวิตอย่างมีความสุขตามแนวทางพระพุทธศาสนาของอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่นen_US
dc.title.alternativeThe model of learning promotion for the elderly person after retirement be alive as happiness according to Buddhist way in Muang district, Khonkean provinceen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-080 เรียงดาว ทวะชาลี.pdf18.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.