Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorขนฺติพโล, พระใบฎีกาพงษ์ศักดิ์-
dc.contributor.authorเสฏฺฐเมธี, พระมหากฤษณ์ธนินต์-
dc.date.accessioned2022-03-29T09:47:39Z-
dc.date.available2022-03-29T09:47:39Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/726-
dc.description.abstractการวิจัยตามวัตถุประสงค์ครั้งนี้ ๑. เพื่อศึกษารูปแบบและกระบวนการพัฒนาบริหารกิจการ คณะสงฆ์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชนอย่างยั่งยืน ๒. เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุนรูปแบบ และกระบวนการพัฒนาบริหารกิจการคณะสงฆ์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชนอย่างยั่งยืน ๓. และเพื่อเสนอรูปแบบกระบวนการพัฒนาบริหารกิจการคณะสงฆ์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ของชุมชนอย่างยั่งยืน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ สภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ การปกครอง การปกครองเป็นสิ่งจาเป็นในการบริหาร กลไกของสังคม เพื่อให้สมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข ด้านการศึกษา การศึกษาเล่าเรียนพระธรรม วินัยของพระพุทธศาสนา ของบรรพชิตและคฤหัสถ์ เป็นกิจการบริหารของคณะสงฆ์ประการหนึ่งที่ สา คัญยิ่ง ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาคา สอน ถือว่าเป็นหน้าที่โดยตรง ของพระสงฆ์ ด้านการศึกษาสงเคราะห์ การศาสนศึกษาสงเคราะห์ คือการจัดการศึกษาเพื่อช่วยเหลือ เกื้อกูลหรืออุดหนุนจุนเจือช่วยเหลือ ด้านการสาธารณะสงเคราะห์ การดา เนินการช่วยเหลือสังคม ทางวัตถุในรูปแบบต่างๆ ที่ไม่ขัดต่อพระธรรมวินัย ด้านสาธารณูปการ การลงมือปฏิบัติงานซึ่งมี วิธีปฏิบัติแตกต่างกันตามลักษณะงาน การก่อสร้าง และการบูรณปฏิสังขรณ์ เป็นตัวหลักของคณะ สงฆ์ผู้ปฏิบัติโดยตรงคือเจ้าอาวาส ปัจจัยสนับสนุนการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ๔ ด้าน ๑) งบประมาณ งบประมาณมี ๓ รูปแบบ คือ (๑) งบประมาณแผ่นดิน (๒) งบประมาณจากเอกชน องค์กรเพื่อการกุศล (๓) งบประมาณจาก การบริจาคของประชาชน ๒) วัตถุดิบ พระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ รูปหล่อองค์อดีตเจ้า อาวาส ห้องน้า ห้องสุขา โรงทาน วัสดุอุปกรณ์ ๓) วัสดุอุปกรณ์ ยานพาหนะ รถยนต์ เครื่องเสียง ข ป้ ายประชาสัมพันธ์ ๔) บุคลากร เจ้าอาวาส ถือเป็นผู้มีอา นาจปกครองสูงสุดในคณะสงฆ์ จะมีพระ ผู้ช่วยก็ได้ พนักงาน ลูกจ้างอาสาสมัครของคณะสงฆ์ เสนอแนะรูปแบบกระบวนการพัฒนาบริหารกิจการคณะสงฆ์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ ดีของชุมชนอย่างยั่งยืน การบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ยั่งยืน) ๓ ด้าน ๑) การบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ยั่งยืน) การบริหารกิจการคณะสงฆ์ ๖ ด้าน เพื่อการปกครอง การศาสนศึกษา การเผยแผ่ การ สาธารณูปการ การศึกษาสงเคราะห์และการสาธารสงเคราะห์มาปรับเข้ากับปัจจัยที่ใช้ในการบริหาร กิจการ คือ การจัดการงาน เงิน คน วัตถุดิบ แผนงาน ๒) ดารงศีลธรรม (ยั่งยืน) เจ้าอาวาสมีภารกิจ การบริหารจัดการวัดเพื่อสร้างความมั่นคงแก่องค์กรสะสมตามอา นาจหน้าที่ของเจ้าอาวาส คือ ด้าน การปกครอง ด้านการเผยแผ่ศาสนาธรรม ด้านการศาสนศึกษา ด้านการศึกษาสงเคราะห์ ด้านการ สาธารณูปการ และด้านการสาธารณสงเคราะห์ ๓) นาสังคมสันติ (ยั่งยืน) ผู้บริหารจัดการคณะ สงฆ์ควรคา นึงถึงการเปลี่ยนแปลงขององค์กรตามโลกาภิวัฒน์ที่มีการแข่งขันสูง ควรปรับปรุงและ พัฒนาระบบการบริหารงานสมัยใหม่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่หลากหลายขึ้นen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectรูปแบบen_US
dc.subjectกระบวนการพัฒนาen_US
dc.subjectบริหารกิจการคณะสงฆ์en_US
dc.titleรูปแบบและกระบวนการพัฒนาบริหารกิจการคณะสงฆ์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ของชุมชนอย่างยั่งยืนen_US
dc.title.alternativeDesign and development of Sangha Administration to develop the quality of life of the community is still standingen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.