Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/709
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.author-, พระครูภัทรสิริวุฒิ-
dc.contributor.authorดวงขันเพ็ชร, ทองคำ-
dc.contributor.authorพุทธจร, อภิวัฒชัย-
dc.date.accessioned2022-03-29T09:13:14Z-
dc.date.available2022-03-29T09:13:14Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/709-
dc.description.abstractรายงานการวิจัยเรื่อง “รูปแบบการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและ วัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย – ลาว” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เอกสาร และลงภาคสนามโดยมีวัตถุประสงค์ในการวิจัย ๓ ประการ คือ (๑) เพื่อศึกษาการจัดการแหล่ง โบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมของไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (๒) เพื่อศึกษารูปแบบกระบวนการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวของไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ (๓) เพื่อส่งเสริม เครือข่ายการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมของไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ผลการศึกษา พบว่า การจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวของไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การบริหารการจัดการเป็นการวางแผน ในการกาหนดจุดหมายและการตัดสินใจเลือกวิธีการ หรือรูปแบบที่ดีที่สุดที่จะให้บรรลุจุดหมายนั้น อานาจหน้าที่และตาแหน่งต่างๆอย่างชัดเจนเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การได้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการพัฒนาประเทศ รูปแบบกระบวนการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวของไทยนั้น ต้องดาเนินการจัดรูปแบบการจัดการแหล่งโบราณคดีทาง พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนโยบาย การจัดรูปแบบการจัดการ แหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบมีส่วนร่วม และ การจัดรูปแบบการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงพื้น และรูปแบบกระบวนการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวนั้น ต้องดาเนินการโดย รูปแบบกระบวนการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมในการกาหนดนโยบาย เกี่ยวกับการคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมเป็นการวางนโยบายของรัฐบาลทางด้านกฎหมายและ ระเบียบการ รูปแบบกระบวนการจัดการและการอนุรักษ์แหล่งโบราณสถาน รูปแบบกระบวนการ ข ดาเนินงานซ่อมแซม บูรณะ และปฏิสังขรณ์แหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมและ หน่วยงานและพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องในการคุ้มครองแหล่งโบราณสถานทางวัฒนธรรมทั้งที่เป็น คณะกรรมการคุ้มครองมรดกแห่งชาติลาวและกระทรวงแถลงข่าววัฒนธรรมและการท่องเที่ยวในการ กากับดูแลแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม การส่งเสริมเครือข่ายการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมของไทยและ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เริ่มต้นที่การการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กร และกลุ่มคนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง จากนั้นต้องมีการสร้างเครือข่ายด้านการวางแผนการท่องเที่ยวทาง พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมทั้งที่เป็นวิสัยทัศน์ของชุมชน วัตถุประสงค์ของแผน นโยบายของแผน เครื่องมือในการพัฒนา การจัดหาและกาหนดงบประมาณ วิธีการติดตามและประเมินผลการ ดาเนินงานและการสร้างเครือข่ายด้านการกาหนดเครื่องมือเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดย การกาหนดขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยวและการพัฒนาคนท้องถิ่นen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectรูปแบบการจัดการ แหล่งโบราณคดีen_US
dc.subjectพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวไทย – ลาวen_US
dc.titleรูปแบบการจัดการแหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย – ลาวen_US
dc.title.alternativeA management model of Buddhist Archeoligical Sources and Culture for enhancing Thai-Lao tourism.en_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-336พระครูภัทรสิริวุฒิ, ดร.pdf4.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.