Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/695
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสีดาคำ, อภิรมย์-
dc.date.accessioned2022-03-29T08:03:30Z-
dc.date.available2022-03-29T08:03:30Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/695-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง การพัฒนาศักยภาพของชุมชนและพระสงฆ์ในการแก้ไขปัญหาความ ยากจน มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ (๑) เพื่อศึกษาหลักพุทธเศรษฐศาสตร์ในการแก้ไขความยากจน ของชุมชน (๒) เพื่อศึกษาศักยภาพของชุมชนและพระสงฆ์ในการแก้ไขปัญหาความยากจน และ (๓) เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนของชุมชน โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) จากวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) ประกอบด้วยพื้นที่เป้าหมาย จานวน ๕ แห่ง และกลุ่มเป้าหมาย จานวน ๕ รูป และกลุ่มตัวแทนพระสังฆาธิการในจังหวัดเชียงใหม่ จานวน ๒๑ รูป โดยใช้เทคนิควิธี AIC (Appreciation Influence Control) หลังจากนั้น จึงทาการวิเคราะห์ข้อมูล โดยวิธีการเขียน พรรณนาบรรยายความ พบข้อสรุป ดังนี้ จากผลการศึกษาหลักพุทธเศรษฐศาสตร์ในการแก้ไขความยากจนของชุมชน พบว่า หลัก เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ มีลักษณะเป็นทางสายกลาง เรียกว่า เศรษฐศาสตร์มัชฌิมาปฏิปทา โดยใช้ วิธีการที่เรียกว่า มรรค เน้นความดารงชีวิตที่สุจริต และรู้จักประมาณในการบริโภคปัจจัย ๔ ตามหลัก ความพอเพียง จากผลการศึกษาศักยภาพของชุมชนและพระสงฆ์ในการแก้ไขปัญหาความยากจน พบว่า มีลักษณะ ๘ ประการ คือ (๑) กิจกรรมการปลุกจิตสานึกของประชาชน (๒) กิจกรรมการส่งเสริมการ มีส่วนร่วมของประชาชน (๓) กิจกรรมการสนับสนุนให้เกิดกลุ่มที่ช่วยเหลือกันเอง (๔) กิจกรรมการ ประยุกต์ความเชื่อและค่านิยมทางศาสนา (๕) กิจกรรมการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักประหยัดและเก็บ ออม (๖) กิจกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติ (๗) กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาสังคมต่าง ๆ และ (๘) กิจกรรม สร้างเครือข่ายพระสงฆ์ จากผลการศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนของชุมชน พบว่า มีแนวทาง ๒ ประการ คือ (๑) การแก้ไขปัญหาความยากจนตามหลักแห่งประโยชน์สุขในปัจจุบัน (ทิฏฐธัมมิกัฏฐ ประโยชน์) (๒) การคบหาคนดี (กัลยาณมิตร) และ (๓) การหาเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ (สัมมาอาชีวะ) ส่วนหลักและกระบวนการทางานแก้ไขปัญหาความยากจนของพระสงฆ์ มีแนวทางสาคัญ ๒ ประการ คือ (๑) หลักความบริสุทธิ์ใจ (บริสุทธิ) ในการทางาน และ (๒) กระบวนการทางานแก้ไขปัญหาความ ยากจนในรูปแบบของเครือข่ายการทางานร่วมกันทั้งคณะสงฆ์ พระสงฆ์ในพื้นที่ และชาวบ้านในชุมชน รวมทั้งหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนาศักยภาพen_US
dc.subjectชุมชนและพระสงฆ์en_US
dc.subjectการแก้ไขปัญหาความยากจนen_US
dc.titleการพัฒนาศักยภาพของชุมชนและพระสงฆ์ในการแก้ไขปัญหาความยากจนen_US
dc.title.alternativeThe Development of Communities’ Potentiality and Sangha in Order to Resolve Poverty Problemsen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2557-024ผศ.อภิรมย์ สีดาคา.pdf5.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.