Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/693
Title: แนวทางในการอนุรักษ์แหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ซึ่งใช้ประกอบในพระราชพิธี รัฐพิธี : เฉพาะของแม่น้าเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
Other Titles: The Holy Water Conservation Foundation State Ceremony: Only of Phetchaburi River Phetchaburi Province
Authors: พระครูเกษมวัชรดิตถ์
พระครูวัชรสุวรรณาทร
เฟื่องฟู, นพ
Keywords: การอนุรักษ์
แหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์
พระราชพิธี
รัฐพิธี
Issue Date: 2560
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพื่อ (๑) เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและสภาพทั่วไปของแหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ (๒) เพื่อศึกษาแนวทางการอนุรักษ์แหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ (๓) เพื่อส่งเสริมและสร้างจิตส้านึกในการอนุรักษ์แหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ซึ่งใช้ประกอบพระราชพิธี รัฐพิธี : เฉพาะของแม่น้าเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี การวิจัยครั งนี เป็นการศึกษาโดยการใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เริ่มจากการศึกษาประวัติความเป็นมาและสภาพทั่วไปของแหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ โดยการศึกษาเอกสาร ต้ารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ซึ่งใช้ประกอบพระราชพิธี รัฐพิธี : เฉพาะของแม่น้าเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี จากนั นได้ท้าการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อให้ทราบถึงแนวทางการอนุรักษ์แหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ และเพื่อส่งเสริมและสร้างจิตส้านึกในการอนุรักษ์แหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ พร้อมทั งรับฟังข้อเสนอแนะในด้านต่าง ๆ แล้วท้าการสรุปวิเคราะห์ผลที่ได้ ไปท้าการประเมินความเหมาะสม เพื่อปรับปรุงน้าเสนอต่อไป ผลการวิจัยพบว่า ๑) ประวัติความเป็นมาของแม่น้าศักดิ์สิทธิ์ในจังหวัดเพชรบุรี พบว่า เป็นแม่น้าที่มีชื่อเสียงในฐานะเป็นแม่น้าสายส้าคัญสายหนึ่งในประเทศไทยมีประวัติอันยาวนานเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั งแต่สมัยโบราณ ตามโบราณราชประเพณีจะใช้จากแม่น้าทั ง ๕ ในประเทศสยามคือ แม่น้าบางปะกง แม่น้าป่าสัก แม่น้าท่าจีน แม่น้าแม่กลอง และแม่น้าเพชรบุรี ในการพระราชพิธีต่าง ๆ และยังได้หล่อเลี ยงชีวิตคนและสัตว์ตลอดรวมถึงการใช้เพื่อการอุปโภค บริโภค การเกษตร อุตสาหกรรมฯ แม่น้าเพชรบุรีจึงเป็นสิ่งที่ส้าคัญอย่างยิ่งชองชาวเพชรบุรี ๒) แนวทางการอนุรักษ์แหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ พบว่า แนวทางในการแก้ไขปัญหาแม่น้าเพชรบุรีได้เริ่มมีการตื่นตัวมากขึ น เมื่อประชาชนได้เห็นความส้าคัญและรัฐบาลควรได้ตอบสนองความต้องการในการอนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้าเพชรบุรี เช่นการขุดลอกและพัฒนาแม่น้าเพชรบุรี ซึ่งให้ด้าเนินการขุดลอกแม่น้าเพชรบุรีเพื่อเป็นการระบายน้าและแก้ไขปัญหาแม่น้าเพชรบุรีที่ตื นเขิน โดยมียุทธศาสตร์ที่ส้าคัญคือการฟื้นฟูความสมดุลของระบบนิเวศในล้าน้าและริมฝั่งน้าและอีกยุทธศาสตร์หนึ่งคือการพัฒนากลไกกระบวนการบริหารจัดการแม่น้าเพชรบุรีของชุมชน แหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ของจังหวัดเพชรบุรีเป็นสมบัติส่วนรวมของชาติที่จะต้องช่วยกันอนุรักษ์เพื่อเป็นแม่น้าสายส้าคัญและทรงคุณค่าของชาติสืบต่อไปอีกด้วย ๓) การส่งเสริมและสร้างจิตส้านึกในการอนุรักษ์แหล่งน้าศักดิ์สิทธิ์ พบว่า ควรส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ช่วยกันดูแลรักษาให้คงสภาพเดิม ไม่ให้เกิดความเสื่อมโทรม เพื่อประโยชน์ในการด้ารงชีวิตในท้องถิ่นของตน การประสานงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักระหว่างหน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชน ให้มีบทบาทหน้าที่ในการปกป้อง คุ้มครอง ฟื้นฟูการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดและปลูกจิตส้านึกการอนุรักษ์แม่น้าแก่ประชาชนและควรมุ่งกลุ่มเป้าหมายไปที่เยาวชน โดยการปลูกฝังค่านิยมการอนุรักษ์แม่น้าเพชรบุรีในฐานะมรดกทางของชุมชน
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/693
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-373 พระครูเกษมวัชรดิตถ์.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.