Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/649
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระครูสิริธรรมบัณฑิต-
dc.contributor.authorศิริพันธ์, อนุกูล-
dc.contributor.authorวัฒนบุตร, บุษกร-
dc.contributor.authorศรีสุข, ณฤณีย์-
dc.date.accessioned2022-03-26T08:44:27Z-
dc.date.available2022-03-26T08:44:27Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/649-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “การจัดการพิพิธภัณฑ์ชุมชนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ของจังหวัดลาปาง” มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา ๓ ประการ ได้แก่ (๑) เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้และกระบวนการจัดการพิพิธภัณฑ์ชุมชน เพื่อความยั่งยืนและพึ่งพาตนเอง (๒) เพื่อสร้างรูปแบบทะเบียนโบราณวัตถุ และพัฒนาระบบกลไกในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ชุมชนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ และ (๓) เพื่อสร้างต้นแบบพิพิธภัณฑ์ชุมชนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ด้วยแอพพลิเคชั่น เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อให้ทราบถึงประเด็นของการศึกษาในรายละเอียดที่สาคัญสาหรับความต้องการและรูปแบบของระบบอิเล็กทรอนิกส์ และมีความครอบคลุมในเนื้อหาสาระสาคัญที่ทาการศึกษาอย่างครบถ้วน ทาให้ได้ทราบถึงข้อมูลเชิงลึก (In-Depth) จากผู้ให้ข้อมูลสาคัญ จานวน ๒๕ รูป/คน และจากการปฏิบัติการบันทึกภาพ เพื่อรวบรวมทะเบียนโบราณวัตถุจานวน ๓ แห่ง ได้แก่ วัดทั้ง ๓ วัด จาก ๓ อาเภอในจังหวัดลาปาง ได้แก่ (๑) วัดปงสนุกเหนือ ตาบลเวียงเหนือ อาเภอเมืองลาปาง (๒) วัดไหล่หินหลวง ตาบลไหล่หิน อาเภอเกาะคา และ (๓) วัดบ้านหลุก ตาบลนาครัว อาเภอแม่ทะ มีการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงตรรกะ (Analytic Induction) ผลการวิจัยพบว่า ๑. องค์ความรู้และกระบวนการจัดการพิพิธภัณฑ์ชุมชน เพื่อความยั่งยืนและพึ่งพาตนเอง พบว่า พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นของจังหวัดลาปาง มีการรวบรวมองค์ความรู้ที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ทั้งองค์ความรู้ด้านพระพุทธศาสนา องค์ความรู้ด้านภูมิปัญญา และองค์ความรู้ด้านการจัดการชุมชน นอกจากนี้ควรผลักดันให้เกิดแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เพื่อเป็นแหล่งข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ สารสนเทศ กิจกรรมและประสบการณ์ต่าง ๆ ในชุมชนที่สนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองได้ตามอัธยาศัย ๒. รูปแบบทะเบียนโบราณวัตถุ และพัฒนาระบบกลไกในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ชุมชนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ พบว่า รูปแบบและการขึ้นทะเบียนวัตถุโบราณ เริ่มต้นจากการทาความเข้าใจกับผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ จัดหน้าที่ โครงสร้างการดูแล การจัดหมวดหมู่ของพิพิธภัณฑ์ ซึ่งเริ่มจากการบันทึกภาพโบราณวัตถุภายในพิพิธภัณฑ์ชุมชนในแต่ละแห่ง แห่งละ ๓๐ ชิ้น รวม ๓ แห่ง มีจานวน ข ๙๐ ชิ้น มาทาการขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุ และพัฒนาระบบกลไกในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ชุมชนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยการบันทึกภาพถ่าย ๓ มิติ และให้ความรู้เบื้องต้นที่เกี่ยวกับวัตถุโบราณทั้ง ๙๐ ชิ้น ๓. สร้างต้นแบบพิพิธภัณฑ์ชุมชนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ด้วยแอพพลิเคชั่น พบว่า มีการสร้างต้นแบบพิพิธภัณฑ์ชุมชนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ๓ ประการดังนี้ (๑) สร้างคิวอาร์โค้ดของโบราณวัตถุทั้ง ๙๐ ชิ้น (๒) มีการสร้างเว็บไซต์ชื่อ http://lpmuseum.net/ และ (๓) มีการสร้างแอพพลิเคชั่น ที่ชื่อว่า LP Museumen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดการen_US
dc.subjectพิพิธภัณฑ์ชุมชนen_US
dc.subjectระบบอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.subjectจังหวัดลำปางen_US
dc.titleการจัดการพิพิธภัณฑ์ชุมชนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ของจังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeThe Management of Community Museum in Electronic System of Lampang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.