Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/633
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนรินฺโท, พระปลัดอนุชาติ-
dc.contributor.authorพระครูพิจิตรวรเวท-
dc.contributor.authorพระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์-
dc.contributor.authorพระครูวศินวรกิจ-
dc.contributor.authorไชยชนะ, นพวรรณ์-
dc.date.accessioned2022-03-26T08:05:21Z-
dc.date.available2022-03-26T08:05:21Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/633-
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพจิตสานึกของประชาชน 2. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างจิตสานึกของประชาชน 3. เสริมสร้างกระบวนการสร้างจิตสานึกของประชาชนตามหลักบวรเพื่อสร้างสังคมแห่งความปรองดองสมานฉันท์ในสังคมไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสาคัญเลือกแบบเจาะจงจานวน 45 รูป/คน โดยการจัดเวทีสานเสวนาผู้ให้ข้อมูลสาคัญ จานวน 21 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพจิตสานึกมี 4 มิติ ได้แก่ 1. ความเป็นมนุษย์ ทาบุญตักบาตร ฟังธรรม รับคาสาบานกับหลวงพ่อ ยึดหลัก"ฮีตสิบสองคองสิบสี่" 2.เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม หวงแหน อนุรักษ์ ทรัพยากรจากป่าให้คงอยู่อุดมสมบูรณ์ ให้อนุชนรุ่นหลัง คัดแยกขยะแนวคิด 3R 3.ความสัมพันธ์ทางสังคม มีการถ่ายทอดวัฒนธรรมที่ถูกต้อง โดยผู้ใหญ่จะพาเด็กๆ ไปเรียนรู้วัฒนธรรมประเพณีต่างๆ มีความสามัคคี ไม่ทะเลาะกัน มีผู้นาไกล่เกลี่ย ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว ช่วงเทศกาลคนต่างที่ก็มา 4. ความรับผิดชอบต่อสังคม ประชุมเครือข่าย รับนโยบายเข้ามาถ่ายทอดให้ลูกบ้านเพื่อดูแลป่า นโยบายบ้านเล็กในป่าใหญ่ ไม่บุกรุก ไม่ล่า ไม่เลื่อย มีกฎเหล็ก มีระวางโทษ มีการวิจัยและพัฒนา วิธีการแปรรูป การตรวจวิเคราะห์ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ การปรับสูตรโดยตัดผักบางชนิดที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนออกรสชาติคงเดิม การตรวจวิเคราะห์สารตกค้าง 2) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างจิตสานึก พบว่า1. แนวคิดทางพระพุทธศาสนา 2. ค่านิยมท้องถิ่น 3. ภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. การเรียนรู้ของบุคคล 5. ผู้นาครอบครัว 6. โครงการในพื้นที่ดาเนินการจะส่งผลต่อการสร้างจิตสานึกของประชาชนตามหลักบวร ๓) ผลการเสริมสร้างกระบวนการสร้างจิตสานึกของประชาชนตามหลักบวรเพื่อสร้างสังคมแห่งความปรองดองสมานฉันท์ในสังคมไทยพบว่ามีการจัดกิจกรรมพัฒนาจิตสานึกโดยอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจทุกฝ่ายครอบครัวผู้คนองค์กรในชุมชนช่วยกันสร้างจิตสานึกให้เกิดกับชุมชน โดยเฉพาะเยาวชนที่ถือเป็นกาลังสาคัญen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectจิตสานึกen_US
dc.subjectหลักบวรen_US
dc.subjectความปรองดองสมานฉันท์en_US
dc.titleพลังบวร : การสร้างจิตสานึกแห่งความปรองดองสมานฉันท์ในสังคมไทยen_US
dc.title.alternativeBoworn - Power : The Building of Reconciliation Consciousness in Thai Societyen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.