Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/618
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิตฺติปญฺโญ, พระมหาจรูญ-
dc.contributor.authorลีกา, จรัส-
dc.contributor.authorธมฺมวิจิตฺโต, พระครูธรรมบาลพิจิตร-
dc.date.accessioned2022-03-26T07:17:38Z-
dc.date.available2022-03-26T07:17:38Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/618-
dc.description.abstractงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาความเข้มเข็งของชุมชนในองค์การบริหารส่วนตาบล หนองกุงธนสาร อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่นศึกษากระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนของ องค์การบริหารส่วนตาบลหนองกุงธนสาร อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่นและเพื่อเสนอแนวทางการสร้างชุมชน เข้มแข็งในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ แก่ชุมชนขององค์การบริหารส่วนตาบลหนองกุงธนสาร อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่นซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม มีผู้ให้ข้อมูล สาคัญจานวน ๖๐ คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนาตามหลักอุปนัยวิธี ผลการวิจัยพบว่า ๑. ความเข้มเข็งของชุมชนหนองกุงธนสาร อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น มี ๖ ด้านคือ ๑) ด้านคุณภาพชีวิต ผ่านกิจกรรม โครงการ เช่น โรงเรียนผู้สูงอายุ กิจกรรมตามเทศกาล ๒) ด้านเศรษฐกิจชุมชน มีนวัตกรรมชุมชนที่เกิดจากภูมิปัญญา ๓) ด้านการสร้างเครือข่าย มีการ เรียนรู้ร่วมกับชุมชนอื่น ๔) ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ได้มีอาสาสมัครประจาหมู่บ้าน ๕) การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการตั้งศูนย์เฝ้าระวังภัยเพื่อดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ ๖) ด้านวัฒนธรรมชุมชน มีการสืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น ที่นาไปสู่ความสันติสุขของชุมชน ๒. กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งพบว่า องค์การบริหารส่วนตาบลหนองกุงธนสาร อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น มี ๕ กระบวนการคือ ๑) ด้านการประชาสัมพันธ์และการให้ความรู้ ๒) ด้านการ ประชุม ๓) ด้านการทาประชาคมชุมชน ๔) ด้านการจัดทาแผน และ๕) ด้านการติดตามและ ประเมินผลซึ่งกระบวนทั้ง ๕ ด้านนี้ นาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนที่สร้างความมั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืนให้แก่ชุมชน ๓. แนวทางการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ แก่ชุมชนขององค์การ บริหารส่วนตาบลหนองกุงธนสาร อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่นพบว่ามี ๕ ด้าน คือ ๑) ด้านเทคโนโลยีของ ชุมชน ประชาชนในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ด้วยเครื่องมือที่จาเป็นการผลิตเพื่อใช้เป็นประโยชน์ ต่อชุมชน ๒)ด้านเศรษฐกิจของชุมชน มีรากฐานมาจากศักยภาพ ภูมิปัญญา และต้นทุนทางวัฒนธรรม ของชุมชน ที่สร้างรายได้พออยู่พอกินจนกลายเป็นชุมชนนวัตวิถี ๓) ด้านทรัพยากรของชุมชน เป็นต้นทุนของชุมชนที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์ ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และที่ มนุษย์สร้างขึ้น ๔) ด้านการจัดการของชุมชนมีการจัดการด้านภูมิปัญญา องค์กรชุมชน และ กระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องแก่คนในชุมชน ๕) ด้านการสร้างเครือข่ายของชุมชนมีการแบ่งกลุ่ม เครือข่ายออกเป็น ๓ กลุ่ม คือ๑) เครือข่ายด้านกลุ่มอาชีพ แบ่งเป็น ๔ กลุ่ม คือ(๑) กลุ่มหัตถกรรม (๒) กลุ่มเกษตรกรรม (๓) กลุ่มหัตถเวชกรรม (๔) กลุ่มแปรรูปอาหาร ๒) เครือข่ายด้านภูมิปัญญา และ ๓) เครือข่ายด้านสารสนเทศen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเสริมสร้างen_US
dc.subjectความเข้มแข็งชุมชนen_US
dc.subjectไทยแลนด์ ๔.๐en_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกุงธนสารen_US
dc.subjectอ.ภูเวียงen_US
dc.subjectจ.ขอนแก่นen_US
dc.titleการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ : กรณีศึกษาชุมชน เข้มแข็งองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกุงธนสาร อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่นen_US
dc.title.alternativeBuilding Strength to Community in the Age of Thailand 4.0: A Case Study of the Strength-Community of Nong-Krungthanasan Sub-District Administrative Organization, Phu-Viang District, KhonKaen Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2563-001พระมหาจรูญ กิตฺติปญฺโญ.pdf6.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.