Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/603
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปราณีต, ยุทธนา | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-26T06:16:25Z | - |
dc.date.available | 2022-03-26T06:16:25Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/603 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาอัตวัฒนธรรมและการอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น ๒) โปรแกรมชุมชนท่องเที่ยว และ ๓๐) นาเสนอนโยบายและยุทธศาสตร์การอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี เป็นการวิจัยแบบเชิงพัฒนาเเละประยุกต์ โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องลงพื้นที่ สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ จานวน ๓๐ คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง และประชุมกลุ่มย่อย จานวน ๑๐ คน วิเคราะห์ด้วยการพรรณนาเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ๑) อัตวัฒนธรรมและการอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นอาเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ เป็นชุมชนโบราณที่มีมาก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีแม่น้าหลายสายไหลผ่าน เช่น ปิง วัง ยม น่าน แม่ น้าป่าสัก จึงเป็นเส้นทางคมนาคมที่ประชาชนใช้ในการติดต่อค้าขายในอดีตกับพ่อค้าชาวอินเดียและ ชาวอาหรับ เขมร จีน จึงรับเอาวัฒนธรรมทวารวดี และวัฒนธรรมเขมรโบราณ มีลักษณะการ ผสมผสานระหว่างภาคกลางกับภาคอีสาน เป็นแหล่งเรียนรู้ทางพ ระพุทธศาสนา การเกษตร ศิลปหัตถกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาชนะดินเผาตกแต่งลวดลายด้วยลายเชือกทาบและลายขีด มี โบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป พระพิมพ์ เทวรูป จารึก ตุ๊กตาดินเผา แท่นบดยา ภาชนะดินเผา โดย ค้นพบเครื่องใช้ที่ทาจากโลหะสาริดและเหล็ก ลูกปัดหินและลูกปัดแก้ว เป็นต้น วัฒนธรรมการนับถือผี บรรพบุรุษ การสร้างกตัญญูกตเวทิตาธรรมผ่าน “วัฒนธรรมข้าว” ประเพณีการบวชป่า สืบชะตา แม่น้า ๒) โปรแกรมชุมชนท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ที่มี 3 เส้นทาง คือ “เส้นทางสีเขียวอ่อน” เครือข่ายชุมชนวิถีพอเพียง ประกอบด้วย กลุ่มอาชีพทั้ง ๕ กลุ่ม คือกลุ่ม บ้านขนมไทย กลุ่มผลิตภัณฑ์พริกเกลือ กลุ่มผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่ กลุ่มผลิตภัณฑ์ไม้จริง และกลุ่มรักษ์โลก ตามแผนท่องเที่ยวเครือข่ายชุมชนวิถีพอเพียง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิตภายในชุมชน “เส้นทางสี น้าตาล” แผนท่องเที่ยววิถีไทยวิถีธรรม กิจกรรมการบวชป่า สืบชะตาแม่น้า และ อารยธรรม ไหว้พระ ๙ วัด ในอาเภอหนองบัว เป็นการผลักดันให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยรวมจุดเด่นๆ เป็นแผน ที่ท่องเที่ยวภายใต้แผนวิถีธรรมวิถีไทย “เส้นทางสีขาว” แผนท่องเที่ยวนวัตวิถีของดีอาเภอหนองบัว สร้างความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรม ว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่า ๓) นโยบายและยุทธศาสตร์การอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี โดยใช้เครือข่ายชุมชนวิถี พอเพียง วิถีไทยวิถีธรรม และนวัตวิถีของดีอาเภอหนองบัว มาช่วยกาหนดแนวทางการขับเคลื่อน ข กิจกรรมการท่องเที่ยวของชุมชน ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวของท้องถิ่น ยุทธศาสตร์การเกษตร ต้นทุนการผลิตโดยการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นและทรัพยากรธรรมชาติที่ที่อยู่ในท้องถิ่น มาปรับใช้ในการ อนุรักษ์ดิน แก้ปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้า พัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคนใน ชุมชนให้ดีขึ้น | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | นวัตวิถีรักษ์ถิ่น | en_US |
dc.subject | การสืบค้น | en_US |
dc.subject | ประวัติศาสตร์ | en_US |
dc.subject | วัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | ประเพณีท้องถิ่น | en_US |
dc.title | นวัตวิถีรักษ์ถิ่น : การสืบค้นประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น | en_US |
dc.title.alternative | Local Conservation Innovation: Searching Local History, Culture and Traditions | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2563-017ผศ.ดร.ยุทธนา ปราณีต.pdf | 6.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.