Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/593
Title: | การจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาในจังหวัดเพชรบูรณ์ |
Other Titles: | Social Welfare Management Based on Buddhism in Phetchabun Province |
Authors: | -, พระครูปริยัติพัชรธรรม |
Keywords: | การจัดสวัสดิการทางสังคม ตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดเพชรบูรณ์ |
Issue Date: | 2561 |
Publisher: | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาในจังหวัดเพชรบูรณ์ ๒) เพื่อพัฒนากิจกรรมการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาของวัดในจังหวัดเพชรบูรณ์ ๓) เพื่อเสนอรูปแบบการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาของวัดในจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ซึ่งได้ทาการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย ๒ กลุ่ม ได้แก่ ๑) ตัวแทนของวัดในชุมชน ๒) ประชาชนในชุมชน รวมทั้งสิ้น ๓๐ รูป/คน นาเสนอผลการศึกษาโดยใช้วิธีพรรณนาวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า การจัดสวัสดิการสังคมตามแนวทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นหน้าที่ภาครัฐโดยร่วมมือกันของวัดและชุมชนที่จะต้องทาตามหลักนโยบาย ได้แก่ ๑) การจัดการให้สวัสดิการแก่บุคคลผู้อยู่ในวัดได้แก่พระภิกษุ-สามเณร อุบาสก อุบาสิกาผู้ที่ถือศีล ๘ ๒) การได้มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมของวัดกับชุมชนของวัดเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการทางสังคม ๓) มีการพัฒนาความร่วมมือในการร่วมกลุ่มการจัดกิจกรรมระหว่างวัดกับชุมชนและหน่วยราชการที่เข้ามาช่วยเหลือ การมีส่วนร่วมของวัดและชุมชนในการจัดสวัสดิการทางสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาใน จังหวัดเพชรบูรณ์ มีแนวทาง ๓ แนวทาง คือ ๑) แนวทางการจัดสวัสดิการทางสังคมให้ความช่วยเหลือแก่พระสงฆ์และชาวบ้าน ๒) แนวทางการส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมทางสังคมเพื่อให้เกิดสวัสดิการสังดมแก่วัดและชุมชน ๓) แนวทางการพัฒนากิจกรรมที่ทาให้สวัสดิการสังคมมเกิดขึ้นระดับจังหวัดและองค์กรทางด้านวัฒนธรรม รูปแบบการมีส่วนร่วมของวัดและชุมชนในการจัดสวัสดิการทางสังคม ได้แก่ ๑) การให้ความรู้ด้านสวัสดิการทางสังคมแก่พระสงฆ์และชุมชนวัด ๒) การจัดการทากิจกรรมร่วมกันของพรสงฆ์และชุมชนวัด เป็นกระบวนการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการ ดาเนินงาน และ พัฒนาเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง การส่งเสริมการมีส่วนร่วมจึงจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับลาดับและขั้นตอน และความเชื่อมโยง และ ๓) การสร้างเครือข่ายการจัดกิจกรรมของการจัดสวัสดิการทางสังคม โดยการกาหนดแนวทางให้เครือข่ายวัด และชุมชนทาหน้าที่อย่างมีขอบเขตที่จากัด เครือข่ายวัด เป็นเครือข่ายทา เน้นกระบวนการลงมือทางานด้วยขอบเขต และข้อบังคับที่มีอย่างจากัด |
URI: | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/593 |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2561-191พระครูปริยัติพัชรธรรม.pdf | 6.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.