Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/584
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรกฺขิตธมฺโม, พระมหาสุพร-
dc.contributor.authorสุวรรณวงศ์, เบญจมาศ-
dc.date.accessioned2022-03-23T03:00:10Z-
dc.date.available2022-03-23T03:00:10Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/584-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการคือ ๑)เพื่อศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการพัฒนา ศักยภาพผู้ประกอบการใหม่ Startup เชิงพุทธ ๒)เพื่อศึกษาศักยภาพและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ ในการประกอบธุรกิจStart Up ของผู้ประกอบการใหม่ Startup ในจังหวัดนครราชสีมา ๓)เพื่อเสนอ รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการใหม่เชิงพุทธเพื่อมุ่งสู่ “Smart City Korat Startup การ วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธีทั้งการวิจัยในเชิงคุณภาพภาคสนาม และการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการใหม่เชิงพุทธเพื่อมุ่งสู่“Smart City Korat Startup” ผลการศึกษาวัตถุประสงค์ พบว่า คุณสมบัติเบื้องต้นของผู้ประกอบการ Startup คือ ๑)มีความปรารถนาอย่างแรงกล้า ๒)มีความคิดสร้างสรรค์ ๓)มีความเป็นนักกลยุทธ์ ๔)มีความเป็น ผู้นาและกล้าตัดสินใจ ๕)มีความกล้าเสี่ยง ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จในการประกอบธุรกิจ StartUp ของผู้ประกอบการใหม่มีดังนี้ ๑)ปัจจัยด้านความรู้ ไอเดีย ๒)ปัจจัยด้านการเมืองและสภาพ เศรษฐกิจ ๓)ปัจจัยด้านสังคม ๔)ปัจจัยด้านพฤติกรรมของผู้บริโภคและการลดต้นทุนด้วยเทคโนโลยี ๕)ปัจจัยด้านการเรียนรู้ข่าวสาร ๖)ปัจจัยด้านแหล่งวัตถุดิบและเครือข่ายชุมชนส่งผลต่อการตัดสินใจ การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการใหม่ Startupเชิงพุทธในจังหวัดนครราชสีมาผ่านการ อบรมเชิงปฏิบัติการในโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการใหม่เชิงพุทธ พบว่ามีการประยุกต์ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้ในการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการใหม่ Startup ได้แก่ ๑)หลัก พรหมวิหาร ๔ ( เมตตา,เมตตา กรุณา มุทิตาและอุเบกขา) ๒)หลักอิทธิบาท ๔ (ฉันทะ, วิริยะ, จิตตะ และวิมังสา), ๓)หลักไตรสิกขา(ศีล,สมาธิ,ปัญญา) ,๔)หลักทศพิธราชธรรม (ทาน , ศีล,บริจาค,ความ ซื่อตรง,ความอ่อนโยน,ความเพียร,ความไม่โกรธ,ความไม่เบียดเบียน,ความอดทน,ความเที่ยงธรรม) ผู้ประกอบการเมื่อนาองค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมมาวิเคราะห์สภาพปัญหา จุดแข็ง จุดอ่อน และ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จในการประกอบธุรกิจStartup จะทาให้เกิดการพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการใหม่ Startup เชิงพุทธ และทาให้เกิดความสามารถทางการแข่งขันและสร้างมูลค่าเพิ่ม ทางเศรษฐกิจยิ่งขึ้นต่อไปen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectรูปแบบen_US
dc.subjectการพัฒนาen_US
dc.subjectผู้ประกอบการใหม่เชิงพุทธen_US
dc.subjectSmart City Korat Startupen_US
dc.titleรูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการใหม่เชิงพุทธเพื่อมุ่งสู่ “Smart City Korat Startup”en_US
dc.title.alternativeModel development of Buddhist new entrepreneurial potential for the Smart City Korat Startupen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2563-030พระมหาสุพร รกฺขิตธมฺโม.pdf3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.