Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/575
Title: การพัฒนาเกษตรกรสู่ความเป็นผู้ประกอบการเกษตร Smart Farmer เพื่อส่งเสริมอาชีพและรายได้ที่ยั่งยืนในอาเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
Other Titles: The Development Farmer into Smart Farmer for Improving the Sustainable and Incomes of Sri Prachan District, Suphan Buri
Authors: แสงหล้า, ปัณณวิชญ์
สุขสุชะโน, เสริมศักดิ์
Keywords: การพัฒนาเกษตรกร
ผู้ประกอบการเกษตร
Smart Farmer
ส่งเส ริม อ า ชีพ แ ล ะ ร า ย ได้
อ ำ เภ อ ศ รีป ร ะ จัน ต์
จังหวัดสุพรรณบุรี
Issue Date: 2561
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาเรื่อง การพัฒนาเกษตรกรสู่ความเป็นผู้ประกอบการเกษตร Smart Farmer เพื่อส่งเสริมอาชีพและรายได้ที่ยั่งยืนในอาเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการ Smart Farmer ๒) เพื่อพัฒนากระบวนการผู้ประกอบการ เกษตรกรด้วยหลัก Smart Farmer นาไปสู่รายที่ยั่งยืนและ ๓)เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายเกษตรกร Smart Farmer ในอาเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี กลุ่มเป้าหมายได้แก่ กลุ่มเกษตรกรอินทรีย์ เขตตาบลวังหว้าและตาบลบางงาม ที่ดาเนินการวิจัย จานวน ๒๐ คน โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและ โดยมุ่งเน้นการวิเคราะห์โดยการสรุปตามสาระสาคัญด้านเนื้อหาที่กาหนดไว้ โดยวิธีการวิเคราะห์ เนื้อหานาไปสู่ความเป็นผู้ประกอบการเกษตรเพื่อส่งเสริมอาชีพและรายได้ที่ยั่งยืน ผลการศึกษาวิจัย พบว่า การพัฒนาเกษตรกรสู่ความเป็นผู้ประกอบการเกษตร Smart Farmer เพื่อส่งเสริมอาชีพ และรายได้ที่ยั่งยืนในอาเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า รูปแบบการจัดการ Smart Farmer ยึดตามเกณฑ์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้แก่ ๑)ความรู้ที่ตนมีอยู่ ๒)มีข้อมูลประกอบการ ตัดสินใจ ๓)การบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด ๔)ตระหนักถึงคุณภาพและความปลอดภัย ผู้บริโภค ๕)มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ๖)มีความภูมิใจในความเป็นเกษตร ส่วนการพัฒนา กระบวนการผู้ประกอบการเกษตรกรด้วยหลัก Smart Farmer นาไปสู่รายที่ยั่งยืน แบ่งออก ๓ ด้าน คือ ๑) การจัดการความรู้ ๒) การสื่อสารระหว่างกลุ่ม ๓) การบริหารจัดการ และการพัฒนา เกษตรกรสู่รายได้ที่ยังยืนนั้น ได้แก่การเสริมสร้างเครือข่าย Smart Farmer ด้านบทบาทของฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเกษตรอินทรีย์ และด้านกิจกรรมเสริมสร้างเครือข่าย ได้แก่ ๑) การเตรียมความ พร้อม ๒) การสร้างกลุ่มเรียนรู้ ๓) การสร้างกลุ่มกิจกรรม ๔) การขยายผลหรือสร้างกลุ่มเครือข่าย
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/575
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-304 นายปัณณวิชญ์ แสงหล้า.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.