Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/574
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กันทะสัก, มานิตย์ | - |
dc.contributor.author | กันทะสัก, อมลณัฐ | - |
dc.contributor.author | หน่อแก้ว, ศตวรรษ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-22T16:17:48Z | - |
dc.date.available | 2022-03-22T16:17:48Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/574 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๓ ประการ ได้แก่ ๑. เพื่อศึกษาแนวคิดของการสร้าง รูปแบบพระสิงห์ ๒. เพื่อพัฒนารูปแบบพุทธประติมากรร่วมสมัยในรูปแบบพระสิงห์ ๔ ๓. เพื่อสร้าง กระบวนการเรียนรู้กับสังคมต่อพระพุทธรูปแบบสิงค์ ๔ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โด ย ใช้วิธีก า ร วิจัย เชิง น วัต ก ร ร ม ใน ลัก ษ ณ ะ R&D (Research and Development) จากการศึกษาพบว่า พระสิงห์ หรือพระพุทธรูปเชียงแสน ถือว่าแบบอย่างที่เป็นศิลปะ เด่นชัดและมีคุณค่าทางศิลปะสูงมาก นับว่าเป็นเป็นประติมากรรมในดินแดนสุวรรณภูมิที่นับว่าสร้าง ขึ้นโดยฝีมือช่างไทยเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๒๑ มีปรากฏแพร่หลายอยู่ตามหัว เมืองต่างๆ ทางภาคเหนือของไทย แหล่งสาคัญอยู่ที่เมืองเชียงแสน วัสดุที่นามาสร้างงาน ประติมากรรมที่ทั้งปูนปั้นและโลหะต่างๆ ที่มีค่าจนถึงทองคาบริสุทธิ์ นับว่า พระสิงห์ เป็นต้นกาเนิด ของศิลปะล้านนาก็ว่าได้ รูปแบบพุทธประติมากรร่วมสมัยในรูปแบบพระสิงห์ ๔ เป็นรูปแบบปางลีลา ขนาดความสูง ๑๙ นิ้ว หล่อด้วยสาริด ได้แนวคิดจากการที่ศิลปะสมัยเชียงแสนที่แผ่ขยายอิทธิพลพุทธ ศิลปกรรมไปถึงอาณาจักรเพื่อนบ้าน และมีการสร้างรูปแบบพระสิงห์เชียงแสนในลักษณะที่เป็นแบบ ยืนขึ้น และต้องการสร้างสรรค์ประติมากรรมพระพุทธรูปในยุคร่วมสมัย ที่เกิดจากช่างทางเหนือที่ ได้รับความนิยมจาก คนทั่วไปและส่งอิทธิพลทางพุทธลักษณะของของงานพุทธปฏิมากรอย่าง กว้างขวางในยุคปัจจุบัน ผ่านขั้นตอนการสร้างสรรค์ ในการสร้างนวัตกรรมศิลปะร่วมสมัย และ กระบวนการเรียนรู้กับสังคม ต่อพระพุทธรูปแบบสิงค์ ๔ ได้มีการสร้างกระบวนการเรียนรู้ผ่าน กิจกรรม ๑.การเสวนากลุ่ม ๒.การถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านการเรียนการสอน และ ๓.การจัด นิทรรศการแสดงงาน | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | พระสิงห์ ๔ | en_US |
dc.subject | แนวคิด | en_US |
dc.subject | คุณค่า | en_US |
dc.subject | วัฒนธรรมที่แปรเปลี่ยน | en_US |
dc.subject | รูปแบบพุทธประติมากรรมร่วมสมัย | en_US |
dc.subject | ความเข้าใจของสังคม | en_US |
dc.title | พระสิงห์ ๔ : แนวคิด คุณค่า ของวัฒนธรรมที่แปรเปลี่ยนสู่รูปแบบพุทธประติมากรรม ร่วมสมัยและความเข้าใจของสังคม | en_US |
dc.title.alternative | Singha4th Buddha image: The concept of cultural values that transforms into a contemporary Buddhist style and understanding of society | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2562-021มานิตย์ กันทะสัก.pdf | 4.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.