Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/558
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสิรินฺทรเมธี, สิงห์ณรงค์-
dc.contributor.authorคมฺภีรปญฺโญ, วิมาน-
dc.contributor.authorศรีบุรินทร์, เอกชัย-
dc.contributor.authorบุตรราช, เกียรติศักดิ์-
dc.contributor.authorอุดมโชคนามอ่อน, ไชยสิทธิ์-
dc.date.accessioned2022-03-22T07:54:09Z-
dc.date.available2022-03-22T07:54:09Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/558-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่อง กระบวนการพัฒนาจิตใจและปัญญาของพระสงฆ์สายวัดป่าเพื่อ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงพุทธในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) ศึกษา กระบวนการพัฒนาจิตใจและปัญญาของพระสงฆ์สายวัดป่า เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงพุทธในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ๒) วิเคราะห์องค์ความรู้และกระบวนการพัฒนาจิตใจและปัญญาของพระสงฆ์ สายวัดป่าเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของพระสงฆ์สายวัดป่าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทาวิจัยโดย การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Observations Participant) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In–depth Interviews) กับเจ้าอาวาส พระสงฆ์ และท่องเที่ยว เกี่ยวกับการส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว การใช้แบบสารวจ เก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว ปัจจัยการท่องเที่ยว กลุ่มของนักท่องเที่ยว ความ พร้อมรองรับนักท่องเที่ยว ตลอดถึงปัญหาอุปสรรคและปัจจัยเอื้อต่อการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว แต่ละแห่ง และ การจัดประชุมกลุ่มใช้เทคนิคการประชุมปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมและสร้างสรรค์ หรือกระบวนการ A-I-C ซึ่งเป็นเทคนิคการประชุมวางแผนแบบมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ เป็น กระบวนการที่ช่วยให้มีการระดมพลังสมองในการศึกษา วิเคราะห์พัฒนาทางเลือก เพื่อใช้ในการแก้ไข ปัญหาและพัฒนา ซึ่งจะทาให้เกิดการตัดสินใจร่วมกัน เกิดพลังของการสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และสรุปวิเคราะห์สังเคราะห์เขียนบรรยายพรรณนาตอบตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้อย่างครบถ้วน ดังนั้นสานักก็ยังคงความเข้มงวดในข้อวัตรปฏิบัติตามพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ไว้ อาทิ สานักปฏิบัติวัดถ้าสหายจันทรนิมิต อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี, สานักวัดป่าดานวิเวก อาเภอ โซ่พิสัย จังหวัดบึงกาฬ, สานักปฏิบัติวัดดอยธรรมเจดีย์ อาเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร ทั้งสาม สานักนี้ถือว่าเป็นสานักปฏิบัติที่มีชื่อเสียงในการรักษาธุดงค์วัตรข้อปฏิบัติของบูรพาจารย์ไว้ได้มั่นคง เหนียวแน่นที่สุด ส่วนสานักอื่น ๆ ที่ได้ชื่อว่าเป็นสานักปฏิบัติธรรมตามสายพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ก็ ได้รักษาข้อวัตรปฏิบัติไว้ได้เช่นกัน หากแต่ไม่ได้มีชื่อเสียง ข้อปฏิบัติบางอย่างก็ได้มีการอนุโลมไปตาม ยุคสมัยถึงแม้ว่าพระธุดงค์กรรมฐานผู้ได้รับการอบรมมาจากพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต โดยตรงจะ มรณภาพไปเป็นจานวนมากแล้ว ปัจจุบันยังมีพระธุดงค์กรรมฐานผู้สืบทอดปฏิปทาของพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต อยู่จานวนมากทั่วประเทศไทย จึงยังคงมีผู้สนใจเข้ารับการอบรมฝึกฝนปฏิบัติธุดงค์วัตรตาม สายพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต อยู่ไม่ขาดนั้นเพราะนอกจากการปฏิบัติที่แตกต่างเป็นที่ดึงดูดใจ การ แสดงธรรมก็เน้นแบบปาฐกถาเข้ากับสถานการณ์จริงแล้ว การเปลี่ยนแปลงจากเศษส่วนร่างกาย เช่น เส้นผม กระดูก เล็บ ฟัน หนัง กลายเป็นพระธาตุบริสทธิ์ของคณะพระธุดงคกรรมฐานมี พระอาจารย์ เสาร์ กนฺตสีโล พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต พระอาจารย์ตื้อ อจลธมฺโม พระอาจารย์ฟั่น อาจาโร พระอาจารย์ขาว อนาลโย พระอาจารย์แหวน สุจินฺโณ เป็นต้น หรือแม้แต่พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) ศิษย์รุ่นสุดท้าย ที่ได้มรณภาพไปเมื่อต้นปี พ.ศ.๒๕๕๔ เศษกายของท่านได้แปร สภาพเป็นพระธาตุจานวนมาก จึงยังคงเป็นแรงบันดาลใจให้พุทธศาสนิกชนได้หันมาปฏิบัติตาม เพื่อกระบวนการพัฒนาจิตและปัญญาของพระสงฆ์สายวัดป่าเพื่อการท่องเที่ยวเชิงพุทธ เป็นกิจกรรมที่สาคัญจะมุ่งเน้นที่การเสริมสร้างจิตสา นึกสาธารณะจากภายในจิตใจ โดยจากการศึกษา พบว่ากิจกรรมที่สาคัญประกอบด้วยกิจกรรมการนั่งสมาธิการเดินจงกรม การเจริญสติภาวนาการ ปฏิบัติธรรม นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงการจัดการท่องเที่ยวสายบุญ รูปแบบและการจัดการท่องเที่ยว โดยวัดที่ประกอบด้วยการนั่งสมาธิการเดินจงกรม และปฏิบัติธรรม ในการท่องเที่ยวแบบ Voluntourism เป็นการท่องเที่ยวเรียนรู้สู่ชุมชน ที่ทั้งผู้ให้และผู้รับได้มีโอกาสเรียนรู้แบ่งปัน ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดรอยยิ้มและมิตรภาพที่น่าจดจา ขณะเดียวกันพัฒนาจิตใจ สติปัญญาและสอดแทรกกิจกรรมจิตอาสาเพื่อพัฒนาจิตใจให้เกิดความเสียสละ การทา เพื่อส่วนรวม และส่งผลให้นักท่องเที่ยวได้รับความสุขจากการท่องเที่ยวและความสุขเกิดภายในจิตใจในการทา กิจกรรมอันเป็นประโยชน์กับสาธารณะ ปัจจุบันการจัดการท่องเที่ยวเชิงพุทธของวัดภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีรูปแบบการส่งเสริมจิตสา นึกผ่านการจัดกิจกรรมที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นการ สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อมุ่งเน้นการจัดการท่องเที่ยวโดยกิจกรรม อบรมให้ความรู้แนวคิดเกี่ยวกับความรู้ผิดชอบต่อสังคม (CSR)และส่งเสริมจิตอาสาเพื่อรับผิดชอบต่อ สังคมร่วมกัน ผ่านการเข้ามาทากิจกรรมภายในวัดเพื่อยกระดับจิตสา นึกของบุคลากรในหน่วยงาน อย่างยั่งยืนท่องเที่ยวแบบ Voluntourism เป็นการท่องเที่ยวเรียนรู้สู่ชุมชน และทั้งหมดนี้แหละที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมของอีสานเป็นเมืองซึ่งเป็นปากประตู ของประเทศไทยในการก้าวออกไปสู่ประชาคมอาเซียนอีกประตูหนึ่ง ประตูแห่งนี้แน่นอนที่ว่ามีชาวไทย เดินทางผ่านออกไปเพื่อท่องเที่ยวเป็นจานวนมาก และในขณะเดียวกันก็มีพี่น้องชาวลาวสมัยใหม่ที่ จานวนมากมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีเดินทางเข้ามาช้อปปิ้ง พักผ่อนวันหยุดอยู่แล้วในสถานที่บันเทิงต่าง ๆ มากมาย หากนักท่องเที่ยวเหล่านี้ได้รับข้อมูลทางการท่องเที่ยวเพิ่มเติมว่ามีแหล่งจรรโลงใจทาง พระพุทธศาสนาเช่นนี้ น่าสงสัยว่าด้วยความเป็นชาวพุทธเช่นเดียวกับชาวไทย และชาวลาวเหล่านี้จะ พากันออกไปท่องเที่ยวด้วยมาทาบุญประจาทุกปีen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนาen_US
dc.subjectจิตใจen_US
dc.subjectปัญญาen_US
dc.subjectพระสงฆ์สายวัดป่าen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงพุทธen_US
dc.subjectภาคตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.titleการพัฒนาจิตใจและปัญญาของพระสงฆ์สายวัดป่าเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงพุทธ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.title.alternativeMental and Wisdom Development of Forest’s Monk for Buddhists tourism Encouragement in The Northeasternen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.