Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/554
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อุตตโร, พระมหาสุริยัน | - |
dc.contributor.author | ประไพรเมือง, วารุณี | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-22T07:47:27Z | - |
dc.date.available | 2022-03-22T07:47:27Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/554 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือมีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาแนวทางในการ พัฒนาหลักสูตรอบรมภาษาอังกฤษ “มัคคุเทศก์น้อยเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ๒) เพื่อสร้าง หลักสูตรอบรมภาษาอังกฤษ “มัคคุเทศก์น้อยเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ๓) เพื่อศึกษากระบวนการ ใช้หลักสูตรอบรมภาษาอังกฤษ “มัคคุเทศก์น้อยเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ๔) เพื่อศึกษาความพึง พอใจของผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งงานวิจัยนี้ใช้รูปแบบงานวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามกับ กลุ่มตัวอย่าง จา นวน ๒๐ คน ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด ๒๐ คน เป็ นเพศหญิง จา นวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๕ และเป็นเพศชาย จา นวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕ กลุ่มประชากรตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ โรงเรียนโขงเจียมวิทยาคม อา เภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่หลักสูตรอบรมภาษาอังกฤษ “มัคคุเทศก์น้อยเพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยว แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการฝึกอบรมหลักสูตรภาษาอังกฤษ “มัคคุเทศก์น้อย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ประการที่หนึ่ง ผลการทดสอบความรู้และทักษะก่อนและหลังการ ฝึกอบรมของ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สรุปได้ว่าคะแนนหลังการฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการ ฝึกอบรมอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในด้านระดับความพึงพอใจของผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมการใช้หลักสูตรภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อย มีความพึงพอใจภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดย ข แยกผลลัพธ์แต่ละด้านดังนี้ ด้านวิทยากร ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือด้าน วิธีการสอน ด้านหลักสูตร ด้านสื่อการสอนและสถานที่ และด้านการวัดผลประเมิณผล ตามลา ดับ ซึ่งทั้ง ๔ ด้าน ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เนื้อหาสาระหรือหัวข้อวิชาที่จา เป็นในการสร้างหลักสูตรฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในบริบทการนา เที่ยว ของนักเรียนโรงเรียนโขงเจียมวิทยาคาร มี ๕ หัวข้อ วิชา ดังนี้ ๑. ภาษาอังกฤษเพื่อการแนะนาตนเองและผู้อื่น ๒. ภาษาอังกฤษเพื่อโต้ตอบและสนทนา ๓. ภาษาอังกฤษเพื่อการทักทายและอาลา ๔. การสนทนาภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ๕.การสนทนาภาษาอังกฤษเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยวในอา เภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี นอกจากการสร้างหลักสูตรเพื่อการพัฒนาภาษาอังกฤษสา หรับมัคคุเทศก์น้อยแล้วนั้น ยังเป็นการสร้างความพร้อมและแรงจูงใจให้กับคนรุ่นใหม่หันมาสนใจการเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น ของตนเอง อาจจะเริ่มจากการเป็นมัคคุเทศก์ฝึกหัดก่อน แล้วค่อยๆ พัฒนาตนเองจนสามารถเป็น มัคคุเทศก์ได้ในไม่ช้าและอาจรวมถึงการสร้างรายได้ให้กับตนเองในระหว่างเรียนได้อีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรจึงเป็ นกิจกรรมที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาที่สภาพสังคม เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นการจัดการศึกษาให้สนองความต้องการของสังคมที่เปลี่ยนแปลงจึงเป็ น สิ่งจา เป็น และการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรในลักษณะของการพัฒนา หลักสูตรจึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยง ไม่ได้ | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การพัฒนาหลักสูตร | en_US |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ | en_US |
dc.subject | มัคคุเทศก์น้อย | en_US |
dc.subject | จังหวัดอุบลราชธานี | en_US |
dc.title | การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อยตามรอยเส้นทางการท่องเที่ยว อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี | en_US |
dc.title.alternative | Development of The English Communication“Local Guide” Curriculum For Students Of Khong Jiam Wittayakom School | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2561-098 พระมหาสุริยัน อุตตโร.pdf | 3.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.