Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/553
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกูลพรม, วสิษฐ์พล-
dc.date.accessioned2022-03-22T07:46:06Z-
dc.date.available2022-03-22T07:46:06Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/553-
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการน้าเพื่อแก้ปัญหาเกษตรกรลุ่มน้าลี้ขององค์การ บริหารส่วนต้าบลป่าพลู อ้าเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล้าพูน มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัญหา ของเกษตรกรรมลุ่มน้าลี้ ต้าบลป่าพลู อ้าเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล้าพูน เพื่อศึกษาแนวทางการ แก้ปัญหาน้าของเกษตรกรรมลุ่มน้าลี้ ต้าบลป่าพลู อ้าเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล้าพูน และ เพื่อ เสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการน้าของเกษตรกรรมลุ่มน้าลี้ ต้าบลป่าพลู อ้าเภอบ้าน โฮ่ง จังหวัดล้าพูน ส้าหรับข้อมูลการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลในพื้นที่จาก องค์การบริหารส่วนต้าบลป่าพลู และเกษตรกรลุ่มน้าลี้ และผู้เกี่ยวข้องจ้านวน ๒๕ คน ผลการวิจัยพบว่าสภาพปัญหาเกษตรกรลุ่มน้าลี้ในฤดูแล้งขาดน้าใช้เพื่อ การเกษตรไม่เพียงพอต่อการอุปโภค ได้แก่การท้าการเกษตร การปลูกพืชต่างๆ คือ กระเทียม หอมแดง ล้าไย กะหล่้าปลี ตลอดถึงพืชผักอื่น ๆ นอกจากนั้นในฤดูฝนก่อให้เกิด น้าท่วมไร่ นา สวน ของเกษตรกร ตลิ่งพัง ก่อให้เกิดน้าท่วมบ้านเรือนประชาชนซึ่งเป็น ปัญหาเกือบทุกๆ ปี ส้าหรับแนวทางการบริหารจัดการน้าขององค์การบริหารส่วนต้าบลป่าพลู คือ ๑. การวางแผน (Planning) หมายถึงการบริหารจัดการน้าของเกษตรกรลุ่มน้าลี้นั้น ทั้ง ต้นน้า กลางน้า และปลายน้าอย่างมีระบบ ๒. การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง การก้าหนดต้าแหน่งสายงานด้านการรับผิดชอบต่อการบริหารจัดการน้า 3. การจัด อัตรากาลัง (Staffing) หมายถึง การสรรหาบุคคลที่มีความเชียวชาญด้านทรัพยากรน้ามา ช่วยบริหารจัดการ 4. การอานวยการ (Directing) หมายถึง การก้ากับ สั่งการและ มอบหมายงานให้แต่ละฝ่ายหรือแต่ละงานน้าไปปฏิบัติตามแผนหรือเป้าหมายที่วางไว้ ๕.การประสานงาน (Coordination) ประสานงานในการบริหารจัดการน้าทั้งภาครัฐ และ เอกชน 6. การรายงาน (Reporting) เป็นการรายงานผลงานที่ได้ด้าเนินการไปแล้วว่า ประสบผลส้าเร็จมากน้อยเพียงใด 7. การงบประมาณ (Budgeting) เป็นการจัดท้า รายงานการใช้เงินในการด้าเนินงานต่าง ๆ ข้อเสนอแนะแนวทางด้านการบริหรจัดการน้าเพิ่มเติมเพื่อแก้ปัญหากลุ่ม เกษตรกรลุ่มน้าลี้ ในระดับ ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า มีดังนี้ ระดับต้นน้า มีการอนุรักษ์ป่าต้นน้า ปลูกป่าชดเชย บวชป่า ไม่ท้าลายป่า ซึ่ง ปลูกฝังแนวคิดเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าต้นน้าโดยการปลูกจิตส้านึกให้มีการรักษาป่าต้นน้า ข และรณรงค์ไม่ให้ตัดไม้ท้าลายป่า ระดับกลางน้า สร้างฝายชะลอน้า ( ฝายแม้ว) สร้างแท้งค์ น้า ขุดบ่อน้า สร้างสระสาธารณะขนาดใหญ่ ในฤดูฝน ท้าให้เกิดน้าท่วมไร่นา และบ้านเรือน ประชนชน เสนอแนะขุด รอกระบายน้า ปลูกต้นไม้ริมตลิ่งไม้โตเร็ว เพื่อป้องกันน้าท่วมตลิ่ง พัง สร้างภาคีเครือข่ายในการบริหารจัดการน้าอย่างมีส่วนร่วม ระดับปลายน้า รักษาแม่น้า ไม่ทิ้งขยะลงน้าไม่ทิ้งน้าเน่าเสีย และสารพิษต่างๆลงสู่แม่น้ามีเครือข่ายช่วยกันดูแลรักษาน้า ไม่ให้กระทบต่อประชาชนที่ใช้น้า เป็นกระบวนการที่รณรงค์ส่งเสริมระดับปลายน้า มีการจัด อบรมให้แก่ประชาชนจากวิทยากรหน่วยงานทางภาครัฐมาให้ความรู้en_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารจัดการน้่ำen_US
dc.subjectปัญหาเกษตรกรลุ่มน้าลี้en_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนต้าบลป่าพลูen_US
dc.subjectจังหวัดล้าพูนen_US
dc.titleการบริหารจัดการน้าเพื่อแก้ปัญหาเกษตรกรลุ่มน้าลี้ ขององค์การบริหารส่วนต้าบลป่าพลู อ้าเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดล้าพูนen_US
dc.title.alternativeWater Management to Solve the Problems of Li River Basin Farmers Of the Tambon Administration Organization Forest of Ban Chang, Lamphun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-233นายวสิษฐ์พล กูลพรม.pdf5.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.