Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/542
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | มหาธมฺมรกฺขิโต, พระมหานิพนธ์ | - |
dc.contributor.author | วิสิฏฺฐปญฺโญ, พระมหาพิสิฐ | - |
dc.contributor.author | หนันคำจร, อดิศร | - |
dc.contributor.author | แสงใส, ประยูร | - |
dc.contributor.author | พระครูสิริปัญญาภรณ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-22T07:27:34Z | - |
dc.date.available | 2022-03-22T07:27:34Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/542 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษารูปแบบการเจริญเมตตาภาวนาในพุทธศาสนา ๒) เพื่อพัฒนารูปแบบการเจริญเมตตาภาวนาที่มีผลต่อการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น และ ๓) เพื่อวิเคราะห์ผลการเจริญเมตตาภาวนาที่มีผลต่อการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ ประชากรที่ศึกษา คือ กลุ่มผู้สูงอายุ ที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป โดยเลือกแบบเจาะจง จำนวน ๕๐ คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามก่อนและหลังการอบรม และชุดฝึกอบรมรูปแบบการเจริญเมตตาภาวนาที่มีผลต่อสุขภาวะของผู้สูงอายุ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า ๑. รูปแบบการเจริญเมตตาภาวนาในพุทธศาสนา คือ การแผ่ความปรารถนาดี การแผ่ความรักบริสุทธิ์ไปยังผู้อื่นหรือสรรพสัตว์ มี ๒ ประเภทคือ แบบเจาะจง กับ ไม่เจาะจง ๒. รูปแบบการเจริญเมตตาภาวนาที่มีผลต่อการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น มี ๕ ลักษณะคือ แผ่เมตตาให้ตนเอง แผ่เมตตาให้บุคคลผู้เป็นที่รัก แผ่เมตตาให้บุคคลผู้เป็นกลาง ๆ แผ่เมตตาให้ผู้เป็นศัตรู และแผ่เมตตาแบบไม่เจาะจง เพื่อให้มีผลต่อสุขภาวะ ๔ ด้าน คือ ร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา ๓. ผลจากการทดลอง พบว่า ก่อนการอบรม โดยภาพรวม รูปแบบการเจริญเมตตาภาวนาที่มีผลต่อสุขภาวะผู้สูงอายุอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านจิตใจและด้านปัญญา อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านร่างกายและด้านสังคม อยู่ในระดับปานกลาง แต่หลังการอบรม โดยภาพรวม รูปแบบการเจริญเมตตาภาวนาที่มีผลต่อสุขภาวะผู้สูงอายุอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านปัญญา ด้านจิตใจ อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านร่างกายและด้านสังคม อยู่ในระดับมาก แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกันที่ระดับ | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | รูปแบบ, | en_US |
dc.subject | เมตตาภาวนา, | en_US |
dc.subject | สุขภาวะ | en_US |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | en_US |
dc.title | รูปแบบการเจริญเมตตาภาวนาที่มีผลต่อสุขภาวะของผู้สูงอายุ | en_US |
dc.title.alternative | The Model of Mettabhavana Cultivation Effected to well-being of the Elderly Person | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2561-058พระมหานิพนธ์ มหาธมฺมรกฺขิโต.pdf | 4.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.