Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/536
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสารบรรณ, สุเทพ-
dc.contributor.authorวิสุทฺธิาณเมธี, พระมหาพงษ์ประภากรณ์-
dc.contributor.authorชยาภิวฑฺฒโน, พระมหาสุรชัย-
dc.contributor.authorอินปิง, นพดล-
dc.contributor.authorคำแก้ว, สิริกานดา-
dc.date.accessioned2022-03-21T14:30:51Z-
dc.date.available2022-03-21T14:30:51Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/536-
dc.description.abstractวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ข้อ คือ ๑) เพื่อศึกษาสาเหตุการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่น ในจังหวัดพะเยา ๒) เพื่อศึกษากระบวนการทางสังคมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่น ในจังหวัดพะเยา ๓) เพื่อเสนอแนวทางประยุกต์คาสอนทางพระพุทธศาสนาในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่น ในจังหวัดพะเยา เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างจากบุคคลผู้ให้ข้อมูลสาคัญ จานวนทั้งสิ้น ๒๕ รูป/คน ผลการวิจัย พบว่า ๑) สาเหตุการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่นเกิดจากหลายปัจจัย สื่อโซเชียลมีเดีย (Social Media) เป็นสิ่งที่กระตุ้นทาให้วัยรุ่นเกิดการอยากลองหรือเลียนแบบ การที่อยากได้รับการยอมรับจากสังคมเพื่อน ขาดความรู้เรื่องเพศศึกษา ค่านิยมและทัศนคติเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนเป็นเรื่องปกติ และขาดการอบรมกล่อมเกลาจากครอบครัว ๒) กระบวนการทางสังคมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่น ในจังหวัดพะเยา พบว่า ได้มีการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาแก่นักเรียนเพื่อช่วยลดสถานการณ์การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การทาแท้งและการติดโรคทางเพศสัมพันธ์ นอกจากนี้ สถาบันหลัก คือ ครอบครัว ศาสนาและโรงเรียนได้ใช้กระบวนการทางสังคมในการสอนเรื่องเพศศึกษา เช่น การอบรมสั่งสอนด้วยวาจา การทาตัวให้เป็นแบบอย่างที่ดี การสร้างแรงจูงใจด้วยการให้รางวัล แต่บางครั้งก็มีการสร้างกฎเกณฑ์และลงโทษ ๓) แนวทางประยุกต์คาสอนทางพระพุทธศาสนาในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่น ในจังหวัดพะเยา พบว่า กลุ่ม บ ว ร (บ้าน วัด โรงเรียน) ต้องมีกลยุทธ์ร่วมกันในการนาวิถีพุทธไปใช้ในการดาเนินชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่น เน้นกรอบการพัฒนาโดยใช้หลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) เป็นแม่บทให้วัยรุ่นได้เรียนรู้ผ่านการพัฒนา โดย ครอบครัวทาหน้าที่ตามหลักทิศ ๖ เป็นผู้สอน เป็นแบบอย่างที่ดี มีเมตตาธรรม (พรหมวิหาร ๔) เป็นพื้นฐาน สถาบันการศึกษาและสถานบริการสุขภาพคอยช่วยเหลือดูแลด้านสุขภาพ (สังคหวัตถุ ๔) และสถาบันศาสนาคอยกล่อมเกลาด้านจิตใจ เพื่อสนับสนุนให้วัยรุ่นได้พัฒนาตามหลักพุทธธรรมอย่างบูรณาการ มีเกรงกลัวและละอายต่อบาป (หิริโอตัปปะ) รู้จักข่มใจ อดกลั้น (ทมะ) เลือกคบเพื่อนแท้ (กัลยาณมิตร) ความเพียรในการศึกษา (อิทธิบาท ๔) มีปัญญารู้ทันสื่อ คิดวิเคราะห์ (โยนิโสมนสิการ) และพิจารณาตามหลักกาลามสูตร จึงจะช่วยให้วัยรุ่นได้ดาเนินชีวิตที่ถูกต้องแห่งวิถีธรรมen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectกระบวนการen_US
dc.subjectสังคมเชิงพุทธen_US
dc.subjectการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์en_US
dc.subjectวัยรุ่นen_US
dc.subjectจังหวัดพะเยาen_US
dc.titleกระบวนการทางสังคมเชิงพุทธกับการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ของวัยรุ่นจังหวัดพะเยาen_US
dc.title.alternativeSocial Buddhist Process on Prevention of Unwanted Pregnancies in Teenagers, Phayao Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-178ผศ. ดร.สุเทพ สารบรรณ.pdf5.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.