Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชัยวงศ์, ศิลาวัฒน์-
dc.contributor.authorภูริวฑฺฒโน, พระครูสังฆรักษ์ศุภณัฐ-
dc.contributor.authorพระครูสุตชยาภรณ์-
dc.contributor.authorรตนโชโต, พระมหาบวรวิทย์-
dc.contributor.authorสายทอง, สุทธิพร-
dc.date.accessioned2022-03-21T03:30:46Z-
dc.date.available2022-03-21T03:30:46Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/524-
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงศิลปะของกลุ่มจังหวัดล้านนา มีวัตถุประสงค์1. เพื่อ สารวจและรวบรวมข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวที่นาทรัพยากรในพื้นที่มาสร้างสรรค์เป็นแหล่งท่องเที่ยวศิลปะเชิง สร้างสรรค์ของกลุ่มจังหวัดล้านนา 2. เพื่อศึกษาสภาพการณ์และศักยภาพการท่องเที่ยวศิลปะเชิงสร้างสรรค์ ของกลุ่มจังหวัดล้านนา 3. เพื่อพัฒนารูปแบบเส้นทางการท่องเที่ยวศิลปะเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มจังหวัด ล้านนา ซึ่งเป็นงานวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ซึ่งประกอบด้วย 1) การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary research) 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) 3) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) 4) แบบเชิงปฏิบัติการ (Action research) และพื้นที่ในการวิจัยผู้วิจัยได้เลือก 8 จังหวัดภาคเหนือ คือ จังหวัดลาปาง จังหวัดลาพูน จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน และจังหวัดพะเยา กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ นักท่องเที่ยวที่เข้ามายังจังหวัดในกลุ่ม ของจังหวัดล้านนา, ตัวแทนวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว, ศิลปินในพื้นที่กลุ่มของจังหวัดล้านนา, ตัวแทนเครือข่ายที่ เกี่ยวข้องกับการวิจัย, ผู้ประกอบการต่างๆ ที่เชื่อมโยงต่อการท่องเที่ยว ผลการวิจัย พบว่า ศักยภาพการท่องเที่ยวศิลปะเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มจังหวัดล้านนา ด้านสิ่งดึงดูดใจ ทางการท่องเที่ยว (Attraction) พบว่า ประวัติความเป็นมาของศิลปกรรม ศิลปะพื้นบ้านและพุทธศิลปกรรมใน ล้านนา เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม สามารถสะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ของล้าน นา ด้านสิ่งอานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว (Amenities) พบว่า มีบริการร้านค้า ร้านอาหารเพียงพอต่อ ความต้องการของนักท่องเที่ยวการจัดสถานที่นั่งพักผ่อนของนักท่องเที่ยวมีเพียงพอ ด้านการเข้าถึงแหล่ง ท่องเที่ยว (Accessibilities) พบว่า สภาพเส้นทางการเดินทางถึงแหล่งท่องเที่ยวมีความปลอดภัย การแสดง ข้อมูลการเดินทางในระบบออนไลน์มีความชัดเจน ด้านกิจกรรมทางการท่องเที่ยว (Activities) พบว่า กิจกรรม ทางการท่องเที่ยวสามารถก่อให้เกิดการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีมีการจัดกิจกรรมบ่อยครั้งในแต่ละปี และ กิจกรรมทางการท่องเที่ยวสามารถสะท้อนเอกลักษณ์เฉพาะตนทางวัฒนธรรม และ ด้านการบริหารจัดการ ท่องเที่ยว (Administration) พบว่า การมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคชุมชน ในการ กาหนดนโยบาย การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และการสร้างโอกาสให้ชุมชนหารายได้จากกิจกรรมท่องเที่ยว รูปแบบเส้นทางการท่องเที่ยวศิลปะเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มจังหวัดล้านนา จากการสารวจและ รวบรวมข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวที่นาทรัพยากรในพื้นที่มาสร้างสรรค์เป็นแหล่งท่องเที่ยวศิลปะเชิงสร้างสรรค์ของ กลุ่มจังหวัดล้านนา ได้พบศักยภาพของพื้นที่ที่สามารถนามาสู่การสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวได้ ประกอบด้วย จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน พะเยา แม่ฮ่องสอน ซึ่งมีความโดดเด่นทางด้านส่งเสริม การเรียนรู้ การอนุรักษ์ และการสร้างสรรค์ศิลปะของวัดและชุมชนในกลุ่มจังหวัดล้านนา เป็นพื้นที่พัฒนาและ สร้างสรรค์ศิลปะเชิงสร้างสรรค์ในล้านนา พื้นที่พัฒนาสินค้าศิลปะเชิงสร้างสรรค์ในล้านนา ทั้งนี้ จากการ สารวจพื้นที่และการนาหลักแนวทางการวางแผนการจัดรายการนาเที่ยว ทาให้สามารถสร้างรูปแบบเส้นทาง การท่องเที่ยวศิลปะเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มจังหวัดล้านนา จานวน 16 รายการนาเที่ยว ใน 8 พื้นที่en_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนาen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงศิลปะen_US
dc.subjectกลุ่มจังหวัดล้านนาen_US
dc.titleการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงศิลปะของกลุ่มจังหวัดล้านนาen_US
dc.title.alternativeThe development of art tourism routes of lannaen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2563-054ศิลาวัฒน์ ชัยวงศ์.pdf30.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.