Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/512
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมีโคตรกอง, ประกอบ-
dc.contributor.authorสวัสดิ์ทา, สุธิพงษ์-
dc.date.accessioned2022-03-21T02:33:49Z-
dc.date.available2022-03-21T02:33:49Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/512-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค" คือ ๑) เพื่อศึกษารูปแบบและขบวนการสร างเครือข ายการ พึ่งพาตนเองของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒) เพื่อศึกษาการเสริมสร างเครือข ายการ พึ่งตนเองของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓) เพื่อศึกษาป;ญหาและอุปสรรคในการสร าง เครือข ายการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป=นการวิจัยแบบผสม (Mixed Method) กลุ มเปGาหมายแบบเจาะจง โดยทำการสัมภาษณ"จากเกษตรกรที่ทำการปลูกข าวและทำ การเกษตรเชิงอินทรีย"ใน ๓ จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน ๓๐ คน และกลุ มตัวอย าง ทำ การสุ มกลุ มตัวอย างโดยวิธีเฉพาะหน า จากเกษตรกรที่ทำการปลูกข าวและเกษตรกรรมเชิงอินทรีย"ใน ๓ จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน ๖๐๐ คน ผู วิจัยได สรปุผล ดังนี้ ผลการวิจัยพบว า ๑. กลุ มตัวอย างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการพึ่งตนเองด าน จิตใจในภาพรวมอยู ในระดับมาก โดยมีค าเฉลี่ยเท ากับ ๓.๗๗ ค าความเบี่ยงเบนมาตรฐานเท ากับ.๙๔ ๒. กลุ มตัวอย างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการพึ่งตนเองด าน สังคมในภาพรวมอยู ในระดับมาก โดยมีค าเฉลี่ยเท ากับ ๓.๗๙ ค าความเบี่ยงเบนมาตรฐานเท ากับ.๙๕ ๓. กลุ มตัวอย างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการพึ่งตนเอง ด านเศรษฐกิจในภาพรวมอยู ในระดับมาก โดยมีค าเฉลี่ยเท ากับ ๓.๘๖ ค าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท ากับ .๙๔ ๔. กลุ มตัวอย างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการพึ่งตนเอง ด านเทคโนโลยีในภาพรวมอยู ในระดับมาก โดยมีค าเฉลี่ยเท ากับ ๓.๙๒ ค าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท ากับ .๙๓ ๕. กลุ มตัวอย างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการพึ่งตนเอง ด านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อมในภาพรวมอยู ในระดับมาก โดยมีค าเฉลี่ยเท ากับ ๔.๑๑ ค า ความเบี่ยงเบนมาตรฐานเท ากับ .๙๓ ข ๖. การสร างเครือข ายการพึ่งตนเองของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป=นการ เชื่อมโยงในลักษณะของเครือข ายเกษตรกรที่จะต องพัฒนาไปสู ระดับของการลงมือทำกิจกรรมร วมกัน เพื่อให บรรลุเปGาหมายร วมกันประกอบด วยรูปแบบและขบวนการ ๑) มีการรับรู มุมมองที่เหมือนกัน ๒) การมีวิสัยทัศน"ร วมกัน ๓) มีความสนใจหรือผลประโยชน" ๔) การมีส วนร วมของสมาชิกทุกคนใน เครือข าย ๕) มีการเสริมสร างซึ่งกันและกัน ๖) การเกื้อหนุนพึ่งพากัน ๗) การมีปฏิสัมพันธ"ในเชิง แลกเปลี่ยน ๗. ป;ญหาและอุปสรรค ประกอบด วย ๑) การกำหนดเปGาหมายวัตถุประสงค"ที่ไม ชัดเจน ๒) สมาชิกภายในเครือข าย ๓) การถูกครอบงำ ๔) การมีสถานภาพถูกต องตามกฎหมาย ๕) การ ติดตามและประเมินผลen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสร้างเครือข่ายen_US
dc.subjectการพึ่งตนเองen_US
dc.subjectเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.titleการสร้างเครือข่ายการพึ่งตนเองของเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.title.alternativeNetwork Building for Self Dependence of Agriculturists in the Northeast of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-053ผศ.ดร.ประกอบ มีโคตรกอง.pdf10.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.