Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/510
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | -, พระอุดมปัญญาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | ขอเจริญ, ธยายุส | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-21T02:26:42Z | - |
dc.date.available | 2022-03-21T02:26:42Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/510 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ (1)เพื่อศึกษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชนสี่เผ่าในจังหวัด ศรีสะเกษ (2)เพื่อศึกษารูปแบบการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใน จังหวัดศรีสะเกษ (3)เพื่อวิเคราะห์การส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโดยใช้อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ของชนสี่เผ่าในจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาจากเอกสาร และงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง การสนทนาจากกลุ่มเป้าหมาย นาผลสนทนามาวิเคราะห์ และเขียนรายงานการวิจัยด้วยเชิง พรรณา ผลการศึกษาพบว่า อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม เป็นลักษณะเฉพาะที่แสดงถึงความรู้สึกของกลุ่มหรือความเจริญ งอกงามที่แสดงออกมาในรูปแบบของภาษา คติ ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะที่มีการสืบ ทอด ปฏิบัติและมีการยอมรับในระดับบุคคล และสังคม อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชนสี่เผ่าใน จังหวัดศรีสะเกษ 1.ชาวกูยมีลักษณะเด่นที่พบคือ การพึ่งพาตนเอง ขยันหมั่นเพียร รับผิดชอบ และเชื่อ ผู้นาหรือผู้อาวุโส 2.ชาวเขมรนั้นมีลักษณะคล้ายคนไทยในท้องถิ่นทั่วไป แต่ถ้าจะเปรียบกับชาวเขมรต่า ในกัมพูชาแล้ว ความเป็นอยู่ประเพณีและความเชื่อต่าง ๆ ของชาวเขมรสูง จะมีส่วนคล้ายกับชาวเขมร ต่าในประเทศกัมพูชามาก 3.ชาวลาวส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธ สนใจในด้านการศึกษาเล่าเรียน มี การบวชเรียนเป็นจานวนมาก 4.ชาวเยอนั้นโดยทั่วไปแล้วจะอาศัยอยู่แถบลุ่มน้าโดยการพึ่งพาอาศัยกัน และกันเป็นหลัก รูปแบบการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการดูแล สุขภาพองค์รวมตามหลักการพระพุทธศาสนา เข้ากับหลักการดูแลสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข พร้อมทั้งนาสถานการณ์ สภาพปัญหา ความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุมาการพัฒนา สาธารณสุข ได้แบ่งการดูแลออกเป็น 4 ด้าน คือ(1) ด้านการส่งเสริม (2) การป้องกัน (3) การรักษา (4) การฟื้นฟู สภาพ โดยทั้งหมดอยู่ในหลักการของการดูแลสุขภาพองค์รวม และมีการกาหนดบทบาทหน้าที่ในการ ดาเนินงาน และมีผลการดาเนินกิจกรรมในด้านต่างๆ ให้สอดรับเหมาะสมกับบริบทของผู้สูงอายุ ซึ่ง ข องค์ประกอบของผู้สูงอายุประกอบด้วย 3 ด้าน กล่าวคือ 1. ด้านร่างกาย 2. ด้านจิตใจ 3. ด้านสังคม ดังนั้น การดูแลสุขภาพจึงเป็นการดูแลรักษาทั้งกายและใจไปพร้อม ๆ กัน เพื่อพัฒนาชีวิตให้ดีงามยิ่งขึ้นไป การส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโดยใช้อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชนสี่เผ่าในจังหวัดศรีสะเกษ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มุ่งให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตนเอง และร่วมกันดาเนินกิจกรรมในรูปของชมรมผู้สูงอายุ การจัดกองทุนสวัสดิการให้และจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะผู้สูงอายุ และการสร้างองค์ความรู้โดยการจัดอบรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การส่งเสริมคุณภาพชีวิต | en_US |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | en_US |
dc.subject | อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | ชนสี่เผ่า | en_US |
dc.subject | จังหวัดศรีสะเกษ | en_US |
dc.title | การส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโดยใช้อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชนสี่เผ่าใน จังหวัดศรีสะเกษ | en_US |
dc.title.alternative | The Promotion of quality of life of the elderly by the cultural identities of the four tribes in Sisaket province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2561-047พระอุดมปัญญาภรณ์.pdf | 2.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.