Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/508
Title: รูปแบบการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับวัยรุ่นไทยยุคใหม่ ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อนโครงการคลินิกคุณธรรม ของพระธรรมวิทยากร
Other Titles: A MODEL OF MORALITY AND ETHIC INDOCTRINATION OF YOUNG GENERATION BY BUDDHADHAMMA THROUGH MORALITY CLINIC PROJECT DRIVING MECHANISM OF BUDDHIST TEACHING MONKS
Authors: กิตฺติโสภโณ, กฤษฎา
Keywords: รูปแบบ
การปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม
วัยรุ่นไทยยุคใหม่
โครงการคลินิกคุณธรรม
พระธรรมวิทยากร
Issue Date: 2561
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ ๑) เพื่อศึกษาหลักการ วิธีการ และรูปแบบการปลูกฝัง คุณธรรมและจริยธรรมสาหรับวัยรุ่นไทยยุคใหม่ ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อน โครงการคลินิกคุณธรรม ของพระธรรมวิทยากร ๒) เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาและอุปสรรคในการ ปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับวัยรุ่นไทยยุคใหม่ ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อน โครงการคลินิกคุณธรรม ของพระธรรมวิทยากร และ ๓) เพื่อนาเสนอรูปแบบการปลูกฝังคุณธรรม และจริยธรรมสาหรับวัยรุ่นไทยยุคใหม่ ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อนโครงการคลินิก คุณธรรม ของพระธรรมวิทยากร การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ระหว่าง การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่ใช้การศึกษาวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) จากแบบสอบถาม (Questionnaire) กับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษา ซึ่งทาการสุ่มมา จากประชากรจานวน ๒๐,๐๗๑ คน โดยคานวณตามสูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ได้กลุ่ม ตัวอย่างจานวน ๓๙๒ คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Sampling) ได้แก่ นักเรียน นักศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม กรุงเทพมหานคร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น และวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยทาการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Analysis) กับการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Informants) ที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิรวมทั้งผู้บริหาร คณาจารย์ และนักวัฒนธรรมจังหวัด จานวน ๑๘ รูป/คน จากนั้น นามาสังเคราะห์เป็นรูปแบบเบื้องต้น และทาการสนทนากลุ่มเฉพาะ (Focus Group Discussion) กับผู้เชี่ยวชาญ จานวน ๙ ท่าน เพื่อสร้างรูปแบบให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การ วิเคราะห์เนื้อหา (Contents Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ๑) พระธรรมวิทยากรมีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา โดยมีบทบาทสาคัญ ๙ ประการคือ ๑. ให้คาปรึกษาแก่นักศึกษา ๒. จัดสนทนาธรรมเป็นประจา ๓. มีการอบรมเยาวชนอย่างสม่าเสมอ ๔. จัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างต่อเนื่อง ๕. ร่วมกับ สถานศึกษาจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี ๖. จัดทาทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๗. พัฒนาเครื่องมือใน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียน ๘. จัดค่ายคุณธรรมจริยธรรม และ ๙. มีการประเมินผล กลุ่มเป้าหมายร่วมกับสถานศึกษา โดยบูรณาการกับหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา คือ หลัก ไตรสิกขา หลักอริยสัจ ๔ หลักอิทธิบาท ๔ และหลักภาวนา ๔ มาใช้ในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ด้วย ๒) สภาพปัญหาและอุปสรรคในการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับวัยรุ่นไทยยุค ใหม่ ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อนโครงการคลินิกคุณธรรม ของพระธรรมวิทยากร พบว่า นักศึกษามีความคิดเห็นต่อรูปแบบการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับวัยรุ่นไทยยุคใหม่ ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อนโครงการคลินิกคุณธรรม ของพระธรรมวิทยากร ใน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = ๔.๐๖, S.D. = ๐.๕๑๐) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ใน ระดับมากทุกด้าน ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับวัยรุ่นไทยยุค ใหม่ ตามหลักพุทธธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อนโครงการคลินิกคุณธรรม ของพระธรรมวิทยากร พบว่า พระธรรมวิทยากรสามารถนากิจกรรมไปใช้กับนักเรียน นักศึกษาได้เป็นบางกลุ่มเท่านั้น ไม่ สามารถปรับใช้กับนักเรียน นักศึกษาทุกกลุ่มได้ จึงควรปรับปรุงรูปแบบใหม่ให้สอดคล้องกับ พฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษาทุกกลุ่มโดยการนาชุมชน ผู้ปกครอง และสถานศึกษา มาช่วย สนับสนุนบทบาทของพระธรรมวิทยากรด้วย ๓) รูปแบบการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับวัยรุ่นไทยยุคใหม่ ตามหลักพุทธ ธรรม ผ่านกลไกการขับเคลื่อนโครงการคลินิกคุณธรรม ของพระธรรมวิทยากร พบว่ามี ๔ รูปแบบ คือ ๑) รูปแบบการป้องกัน (Prevention) ๒) รูปแบบการปรับปรุง (Improvement) ๓) รูปแบบการ เปลี่ยนแปลง (Change) และ ๔) รูปแบบการพัฒนา (Development) ทั้งนี้รูปแบบดังล่าวจะประสบ ผลสาเร็จได้ก็ต่อเมื่อได้รับการสนับสนุนจากสถานศึกษา (School) ชุมชน (Community) และ ผู้ปกครอง (Parent) โดยร่วมกันดาเนินการดังนี้คือ ๑) สร้างภูมิคุ้มกันด้วยการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมอย่างจริงจัง ๒) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยงให้เป็นคนดีมี คุณธรรม ๓) ส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย มีคุณธรรมจริยธรรม และ ๔) เสริมสร้าง กิจกรรมการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน นักศึกษาร่วมกับ หน่วยงาน สถานศึกษา และ ชุมชน
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/508
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-258พระมหากฤษฎา แซ่หลี.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.