Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/505
Title: การพึ่งตนเองของชาวนาเชิงพุทธในจังหวัดขอนแก่น
Other Titles: The Self Reliance of Famers in Buddhist Khonkaen Provinces.
Authors: มีโคตรกอง, ประกอบ
Keywords: การพึ่งตนเอง
ชาวนา
เชิงพุทธ
จังหวัดขอนแก่น
Issue Date: 2560
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค! คือ ๑) เพื่อศึกษาการพึ่งตนเองของชาวนาในจังหวัดขอนแกน ๒) เพื่อแนวทางการสงเสริมการพึ่งตนเองของชาวนาเชิงพุทธในจังหวัดขอนแกน ๓) เพื่อวิเคราะห!รูปแบบการ พึ่งตนเองของชาวนาเชิงพุทธในจังหวัดขอนแกน เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)โดย การสัมภาษณ!กลุมเปาหมายแบบเจาะจง ไดแกชาวนาที่พึ่งตนเองไดใชหลักการทางพุทธศาสนาไปใชใน จังหวัดขอนแกนจำนวน ๓ อำเภอๆ ละ ๑๐ คน รวมทั้งสิ้น ๓๐ คน ผูวิจัยไดสรปุผล ดังนี้ ผลการวิจัยพบวา ๑. การพึ่งตนเองของชาวนาในจังหวัดขอนแกน พบวา การดำเนินชีวิตของชาวนาใน จังหวัดขอนแกนเป7นแบบพอเพียง แตงยังอาศัยระบบเศรษฐกิจแบบใหม โดยอาศัยพ อค าคนกลางใน การซื้อขายสินค าทางการเกษตร กลุ มหรือชุมชนที่อิงอาศัยกันได ไม เต็มที่เพราะทุนในการจัดการมีน อย ไม พอกับความต องการของประชาชน ๒. ด านแนวทางการส งเสริมการพึ่งตนเองของชาวนาเชิงพุทธในจังหวัดขอนแก น พบว า ประชาชนต องลงมือในการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของในหลวงรัชกาล ที่ ๙ เป7นแนวทางที่ให ประชาชนดำเนินตามวิถีแห งการดำรงชีพที่สมบูรณ! สันติสุข โดยมีธรรมะเป7น เครื่องกำกับ และใจตนเป7นที่สำคัญ ซึ่งก็คือ วิถีชีวิตไทย ที่ยึดเส นทางสายกลางของความพอดี ในหลัก ของการพึ่งพาตนเอง ๕ ประการ คือ ๑) ความพอดีด านจิตใจ: เข มแข็ง พึ่งตนเองได มีจิตสำนึกที่ดี เอื้อ อาทร ประนีประนอมคำนึงถึงผลประโยชน!ส วนรวม ๒) ความพอดีด านสังคม: มีการช วยเหลือเกื้อกูล กัน สร างความเข มแข็งให แก ชุมชน รู จักผนึกกำลัง และที่สำคัญมีกระบวนการเรียนรู ที่เกิดจากฐานราก ที่มั่นคงและแข็งแรง ๓) ความพอดีด านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อม: รู จักใช และจัดการอย าง ฉลาดและรอบคอบ เพื่อให เกิดความยั่งยืนสูงสุด ใช ทรัพยากรที่มีอยู ในประเทศ เพื่อพัฒนาประเทศให มั่นคงเป7นขั้นเป7นตอนไป ๔) ความพอดีด านเทคโนโลยี: รู จักใช เทคโนโลยีที่เหมาะสมให สอดคล องกับ ความต องการและควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปVญญาชาวบ านของเราเอง และสอดคล องเป7น ประโยชน!ต อสภาพแวดล อมของเราเอง ๕) ความพอดีด านเศรษฐกิจ: เพิ่มรายได ลดรายจ าย ดำรงชีวิต อย างพอสมควร พออยู พอกินตามอัตภาพ และฐานะของตนเอง ข ๓. ด านการพึ่งตนเองโดยการนำหลักธรรมทางพุทธศาสนาไปประยุกต!ใช พบว า ๑) ฉันทะ คือ ความชอบ ความรักในอาชีพที่ตนเองทำนั่นคือ การประกอบอาชีพทำนาในรูปแบบของการใช ปุWย อินทรีย! โดยไม ไปเบียดเบียนชีวิตสัตย!อื่น และยังปลอดภัยสำหรับผู บริโภค ๒) วิริยะ คือ ความเพียรมี ความขยัน อดทนต ออาชีพของตน เช น อาชีพเกษตรกร จนกว าจะประสบผลสำเร็จ ๓) จิตตะ คือ การ เอาใจใส ในการทำนาในอาชีพที่ทำ มีจิตผูกพันจดจ อเฝGาคิดเรื่องนั้นใจอยู กับงานนั้นไม ปล อยไม ห างไป ไหนถ าจิตตะเป7นไปอย างแรงกล าในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรืองานอย างใดอย างหนึ่งคนผู นั้นจะไม สนใจไม รับรู เรื่องอื่นๆ ๔) วิมังสา คือ หลังจากการทำนาแล วมีการวิเคราะห!ผลกำไรจากการประกอบอาชีพ กระทบต อสิ่งแวดล อม ต อสังคม ต อตนเองเพื่อปรับปรุงให ดีกว าเดิมในการประกอบอาชีพทำนาครั้ง ต อไป ในการส งเสริมการพึ่งพาตนเองของชาวนาจังหวัดขอนแก นต องอาศัยหลักธรรมทางพุทธศาสนา เข ามาช วยในการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพคือเกษตรกรได ประสบผลสำเร็จโดยยึดหลักธรรม ทางพุทธศาสนา คือ หลักอิทธิบาท ๔
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/505
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-100ผศ.ดร.ประกอบ มีโคตรกอง.pdf6.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.