Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/504
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | หลานวงค์, อดุลย์ | - |
dc.contributor.author | จนฺทวฑฺฒโน, พระภาณุวัฒน์ | - |
dc.contributor.author | อํสุมาลี, พระมหาภิรัฐกรณ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-21T02:09:52Z | - |
dc.date.available | 2022-03-21T02:09:52Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/504 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดและพัฒนาการของพุทธศิลป์ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ๒) เพื่อศึกษาลักษณะสาคัญและการเรียนรู้พุทธศิลป์ที่สาคัญในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ๓) เพื่อศึกษาคุณค่าแล ะอิทธิพล ของพุทธ ศิล ป์ที่สาคัญในภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยใช้การเก็บข้อมูลทั้งจากเอกสาร งานวิจัยและ ข้อมูลภาคสนามโดยกาหนด ๕ พื้นที่ ในภาคอีสาน ๕ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น กาฬสินธ์ หนองคาย สกลนคร และจังหวัดอุบลราชธานี จากผู้ให้ข้อมูลจานวน ๖๕ รูป/คน ผลจากการศึกษาพบว่า พุทธศิลป์ที่สร้างขึ้นในยุคพุทธกาลเน้นประโยชน์การใช้สอยเป็นสาคัญ และมุ่งพัฒนาที่ตัว บุคคลเป็นหลัก จึงปรากฏพุทธศิลป์ประเภทสถาปัตยกรรมที่เป็นส่วนของอาคาร สถานที่เท่านั้น ต่อมา ยุคหลังพุทธกาลจึงปรากฏประติมากรรมกล่าวคือพระพุทธรูป เหตุที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะได้รับอิทธิพล ความเชื่อจากชาวกรีกที่นิยมสร้างรูปเคารพแทนเทพเจ้าที่ตนนับถือ พระพุทธรูปนั้นเริ่มแพร่หลาย กระจายในยุคที่มีพระสาวกเข้ามาประกาศเผยแผ่พระพุทธศาสนาในรัชสมัยพระเจ้าอโศก และการ ติดต่อทางการค้า จนเป็นที่นิยมหล่อหรือปั้นขึ้นพร้อมกับการมีอารามในภูมิภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยเริ่มมีปรากฏหลักฐานในตานานอุรังคนิทาน พระพุทธเจ้าตรัสรับสั่งให้พระอานนท์เถระหลังจากพุทธปรินิพพานให้นาพระบรมสารีริกธาตุ ส่วนอุ รังคธาตุ (กระดูกหน้าอก) มาประดิษฐานที่ภูกาพร้า ต่อมาจึงมีการสร้างพระธาตุเจดีย์ขึ้นปรากฏนาม ว่า พระธาตุพนม และในคัมภีร์ได้ระบุไว้ชัดเจนว่าพระพุทธองค์ได้ประทับรอยพระบาทไว้ ๒ แห่ง ต่อมาได้มีการสร้างพระธาตุเจดีครอบไว้แห่งหนึ่งปรากฏนามว่า พระธาตุเชิงชุม ต่อมาจึงปรากฏหลักฐานว่ามีการสร้างพระพุทธรูปขึ้นในพื้นที่นี้ในยุคทวารวดี โดยค้นพบ พระพุทธรูปหินทรายแกะสลักเป็นส่วนใหญ่ มีการสลักพระพุทธรูปนอนบนเพิงผาหลายแห่ง เช่น พระ นอนภูค่าว อาเภอสหัสขันธ์ และพระนอนภูปอ อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นต้น การสลัก พระพุทธรูปบนหลักหินทรายเสมา เพื่อแสดงเขตสีมาของอุโบสถในการทาสังฆกรรมหลายแห่ง เช่น ใบเสมาบ้านกุดโง้ง ตาบลกุดตุ้ม อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ หลังจากนั้นยุคขอมรุ่งเรืองในพื้นที่ได้มีการ แกะสลักหินทรายเป็นพระพุทธรูปปางต่าง ๆ และมีการสร้างปราสาทเป็นศาสนสถานเพื่อใช้ในการ ประกอบพิธี ต่อมาบางแห่งได้เปลี่ยนแปลงจากลัทธิความเชื่อเดิมเป็นพระพุทธศาสนาบ้างก็มี ในยุค ล้านช้างได้มีการสร้างพุทธศิลป์ไว้มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระพุทธรูปสาคัญที่ทาการศึกษาวิจัยใน ครั้งนี้ ส่วนใหญ่สร้างขึ้นในยุคล้านช้างนี้ มีการสร้างพระธาตุเจดีย์ศรีสองรักไว้แสดงเขตแดนของ อาณาจักร ทั้งสอง บูรณปฏิสังขรณ์พระธาตุพนมและพุทธศิลป์แห่งอื่นๆ ที่รุดทรุดโทรมตามกาล ในยุค รัตนโกสินทร์ตอนต้นมีการย้ายถิ่นข้างแม่น้าโขงมาตั้งบ้านเมืองหลายแห่ง จากการย้ายถิ่นในครั้งนั้น ปรากฏว่ามีการอัญเชิญพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองมาด้วย เพื่อเป็นขวัญและกาลังใจของคณะรวมถึงเป็น การแสดงให้เห็นถึงความศรัทธาต่อพระรัตนตรัยอย่างมั่นคง และเพื่อจะประดิษฐานพระพุทธศาสนา ในบ้านเมืองที่เหมาะสมนั่นเอง คุณค่าและอิทธิพลของพุทธศิลป์นั้นพบว่า พระพุทธรูปส่งผลต่อความเชื่อความเลื่อมใส ศรัทธาของคนในชุมชน ยึดถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของพื้นที่นั้น ๆ ทาให้เกิดความสันติสุขสงบ ร่มเย็นเกิดขึ้นในชุมชนและสังคม เกิดความสมัครสมานสามัคคีของคนในชุมชน เกิดจิตอาสาในการ ร่วมกันช่วยทางานบุญประเพณีที่จัดขึ้นทุกปี เกิดรายได้จากการขายของชาร่วย ที่รลึกและการจ้างคน ในชุมชนเกิดขึ้นเพื่อช่วยจัดสถานที่ให้เหมาะสมกับแหล่งท่องเที่ยว เกิดการท่องเที่ยวอันเป็นผลมาจาก วัฒนธรรมประเพณีที่มีการจัดติดต่อกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเป็นผลให้เศรษฐกิจในท้องถิ่นนั้นมี รายได้หมุนเวียน ประชาชนมีพื้นที่เลี้ยงชีพนอกเหนือจากการอาชีพหลักด้านเกษตรกรรม | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | พุทธศิลป์ | en_US |
dc.subject | ประวัติ | en_US |
dc.subject | พัฒนาการ | en_US |
dc.subject | อิทธิพล | en_US |
dc.subject | การดำรงชีวิตของประชาชน | en_US |
dc.subject | ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | en_US |
dc.title | พุทธศิลป์ : ประวัติ พัฒนาการ และอิทธิพลต่อการดารงชีวิตของประชาชน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | en_US |
dc.title.alternative | Buddhist Arts : Historical, Development and Influences on people’s Living in the North – Eastern Region | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-099ดร.อดุลย์ หลานวงค์.pdf | 6.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.