Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/503
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | คล้ายเดช, ปัญญา | - |
dc.contributor.author | บุดดาสาร, อำพล | - |
dc.contributor.author | วิชานาติ, ศุภกาญจน์ | - |
dc.contributor.author | แย้มสุนทร, ปชาบดี | - |
dc.contributor.author | เรืองแสน, นิรัช | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-21T02:05:54Z | - |
dc.date.available | 2022-03-21T02:05:54Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/503 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค เพื่อ ๑) ศึกษาเครือขายการจัดการศึกษาคณะสงฆ เพื่อรองรับการพัฒนาสังคมไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ๒) พัฒนาเครือขายการจัดการศึกษาคณะสงฆ เพื่อรองรับการพัฒนาสังคมไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ๓) วิเคราะห เครือข ายการจัดการศึกษากับการพัฒนาสังคมไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ใช,วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช,การสัมภาษณ เชิงลึก (In-depth Interview) ผู,ให,ข,อมูลสำคัญ ได,แก ผู,บริหาร ครูผู,สอน ผู,เรียน สำนักเรียนที่จัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม สำนักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ และมหาวิทยาลัยสงฆ ทั้ง ๒แหง ที่ตั้งอยู ในเขตจังหวัดขอนแกน จำนวน ๓๕ รูป วิธีการวิเคราะห ข,อมูลแบบอรรถาธิบายและพรรณนาความผลการวิจัยพบว า ๑. เครือขายการจัดการศึกษาของคณะสงฆ แบงออกเปNน ๕ รูปแบบ คือ ๑) เครือขายการจัดการศึกษาแบบตามอัธยาศัย ๒) เครือขายการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม ๓) เครือขายการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ๔) เครือข ายการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา และ ๕) เครือขายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งมีการจัดการศึกษาที่สอดคล,องเกื้อกูลสนับสนุนกันและกัน คณะสงฆ ทุกระดับและประชาชนให,ความสำคัญ และมีการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาเปNนหนวยรองรับผู,เรียนที่สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนพระปริยัติธรรมทั้ง ๓ แผนก มีวัตถุประสงค และเปRาหมายที่ชัดเจนและตอเนื่อง เปNนไปในทิศทางเดียวกัน มีการปรับตัวให,สอดคล,องกับสังคมในป)จจุบัน เพื่อรักษาและจรรโลงไว,ซึ่งการศึกษาและการค,นคว,าทางพระพุทธศาสนา มีการกำหนดวิสัยทัศน รวมกันและมีความสอดคล,องไปในทิศทางเดียวกัน มีความสนใจหรือมีผลประโยชน รวมกัน สมาชิกทุกภาคสวนของคณะสงฆ ทุกระดับมีสวนรวมในการจัดการศึกษาโดยมีจุดหมายบุคลากรรวมกัน มีการเชื่อมโยง มีการสร,างความรู,สึกรวมกัน และมีการพัฒนาระบบที่โปรงใส ตรวจสอบได,มีจุดหมายรวมกัน มีการเสริมสร,าง เกื้อหนุนพึ่งพาและมีการมีปฏิสัมพันธ กันในเชิงแลกเปลี่ยนกันและกัน ๒. การพัฒนาเครือขายการจัดการศึกษาคณะสงฆ เพื่อรองรับการพัฒนาสังคมไทยในศตวรรษที่ ๒๑ โดยการพัฒนาการปกครองคณะสงฆ ให,สามารถบูรณาการทุกมิติของการบริหารกิจการคณะสงฆ ทั้ง ๖ ด,าน เปNนไปในทิศทางเดียวกัน โดยใช, “วัด”เปNนศูนย กลางในการจัดการศึกษาใน ๓แผนก สงตอไปถึงการจัดการศึกษาระดับสูง และมีการจัดตั้งสถาบันอมรมด,านวิป)สสนากรรมฐานให,ความสำคัญตอการพัฒนาจิตใจของพระภิกษุสามเณรผู,เปNนศาสนทายาทเปNนสำคัญ อันเปNนการสร,างพื้นที่การทำงานให,กับพระภิกษุสามเณรเมื่อสำเร็จการศึกษาสูงสุดแล,ว๓. ผลการวิเคราะห เครือขายการจัดการศึกษากับการพัฒนาสังคมไทยในศตวรรษที่ ๒๑เครือขายการจัดการศึกษาคณะสงฆ อาศัยสถาบันการศึกษาคณะสงฆ เปNนแกนนำในการจัดการศึกษาภายใต,รูปแบบหลักสูตรและการบูรณาการรวมกับศาสตร สมัยใหม วัดและสำนักปฏิบัติธรรม เปNนเครือขายสนับสนุนสงเสริมการเรียนรู,ตามสภาพจริง เริ่มต,นจากการสงเสริมให,ประชาชนเข,ามาบวช เรียน และสงเสริมให,ประชาชนทั่วไปได,รวมปฏิบัติธรรมตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ,า ซึ่งวัดและสำนักปฏิบัติธรรม มีศักยภาพในการรักษาและพัฒนาทรัพยากร ที่เอื้อตอการเรียนรู,ตามสภาพจริงของผู,เรียน วัดและสำนักปฏิบัติธรรม มีเปRาหมายเดียวกันกับคณะสงฆ คือจัดการศึกษาให,ผู,เรียนได,มีการพัฒนาตนเองและพัฒนาสังคม | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การพัฒนาเครือข่าย | en_US |
dc.subject | การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ | en_US |
dc.subject | การพัฒนาสังคมไทย | en_US |
dc.subject | ศตวรรษที่ ๒๑ | en_US |
dc.title | การพัฒนาเครือข ายการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ เพื่อรองรับการพัฒนาสังคมไทยในศตวรรษที่ ๒๑ | en_US |
dc.title.alternative | A Study of Networking Development of Sangha Education Management for Reserving of Thai Social Development in 21st Century | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-116ผศ.ดร.ปัญญา คล้ายเดช.pdf | 5.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.