Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/496
Title: การจัดการทรัพยากรธรรมชาติกับการสร้างสุขภาวะชุมชนตามวิถีพุทธในจังหวัดลำปาง
Other Titles: The Management on Natural Resources and Buddhist Community Health in Lampang Province
Authors: ศรีปรัชยานนท์, สมจันทร์
Keywords: การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ
สุขภาวะชุมชน
วิถีพุทธ
จังหวัดลำปาง
Issue Date: 2560
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค๑เพื่อ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติกับสุขภาวะตามวิถีพุทธ ๒) เพื่อศึกษากระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติกับการสร๎างสุขภาวะในชุมชนตามวิถีพุทธ ๓) วิเคราะห๑การจัดการทรัพยากรธรรมชาติกับการสร๎างสุขภาวะในชุมชนตามวิถีพุทธของจังหวัดลาปาง โดยวิจัยเชิงบูรณาการทั้งแบบสอบถามจากการสุํมตัวอยำงกลุํมประชากร ๕๓ คนและสัมภาษณ๑เชิงลึก องค๑การบริหารสํวนท๎องถิ่น ผู๎นาชุมชนและประชาชน เพื่อนามาวิเคราะห๑ถึงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติกับการสร๎างสุขภาวะชุมชนตามวิถีพุทธ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การบริหารจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติกับการสร๎างสุขภาวะตามวิถีพุทธเป็นการสร๎างความสุขให๎เกิดขึ้นอยำงแท๎จริงทั้งทางด๎านรำงกาย จิตใจและป๓ญญา การสร๎างความสมดุลระหวำงมนุษย๑กับธรรมชาติที่มีความสมดุลในมิติตำงๆ อาทิ ความสมดุลระหวำงการพัฒนาทางด๎านกายและจิตใจ ความสมดุลระหวำงเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล๎อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติจึงเป็นการสร๎างความสุขที่ตอบสนองความต๎องการของตนเอง ชุมชนและสังคมจากความสัมพันธ๑กันระหวำงมนุษย๑กับธรรมชาติ เป็นบํอเกิดความสุขทั้งทางด๎านรำงกายและจิตใจ โดยอาศัยป๓ญญารํวมกันพิจารณาในทรัพยากรในชุมชน เพื่อให๎เป็นการพัฒนาอยำงแท๎จริงที่มีผลตํอความสุขของบุคคล ชุมชน และประเทศชาติ นอกจากนั้น ผู๎วิจัยได๎พบวำ ยังป๓จจัยที่มีตํอการบริหารจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติกับการสร๎างสุขภาวะตามวิถีพุทธในจังหวัดลาปาง จากการศึกษาพบวำมีป๓จจัยที่มีผลการบริหารจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติกับการสร๎างสุขภาวะตามวิถีพุทธคือความสัมพันธ๑ระหวำงนิเวศวิทยาเชิงพุทธ (Buddhist Ecology) กับทุนทางสังคม/ทรัพยากรธรรมชาติ (Social Capital) ที่เกื้อหนุนตํอวิถีชีวิตชุมชนผำนพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา โดยการจัดการทรัพยากรธรรมชาติชุมชนจะต๎องประกอบด๎วย คุณคำ (Valuable) ตระหนักถึงผลกระทบจากภัยทางธรรมชาติที่จะสํงผลตํอชุมชน ทาให๎ชุมชนเกิดตระหนักเห็นถึงคุณคำในการสร๎างเกิดความสมดุลตํอธรรมชาติและสังคม คติ/ความเชื่อ (Thinking/Faithfulness) อันเป็นกรอบและแนวทางในการอนุรักษ๑ผำนพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาหรือพิธีกรรมของชุมชน คุณคำและความเชื่อทาให๎เป็นแนวทางการปฏิบัติหรือวิถีชีวิตชุมชน (Social Folk) ซึ่งเป็นรูปแบบการดาเนินชีวิตที่ได๎รับผลจากคุณคำและคติความเชื่อ อีกทั้งยังสํงผลตํอการจัดการทรัพยากรปุาชุมชน ดังนี้ ๑) กติกาสังคม (Social Role) ระเบียบและบรรทัดฐานทางสังคมที่รํวมกันตํอการอนุรักษ๑ทรัพยากรบนพื้นฐานทุนทางสังคม ๒) การมีสํวนรํวม (Participation) ปูองกันมิให๎เกิดความ เข๎าใจผิด ขจัดความขัดแย๎ง สร๎างความเห็นตรงกัน ๓) การอนุรักษ๑ของชุมชน (Social Conservation) อาศัยพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การปลูกปุาเพิ่มเติม และการสร๎างกติกาสังคมให๎การควบคุมดูแลมิให๎เกิดการบุกรุกหรือทาลายทรัพยากร ๔) การปลูกจิตสานึก/สร๎างจิตสานึก (Awareness) สร๎างความรู๎ ความเข๎าใจแกํเยาวชนให๎เกิดความหวงแหนตํอทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนตนเอง นอกจากนั้น การจัดการทรัพยากรธรรมชาติกับการสร๎างสุขภาวะชุมชนประกอบเปูาหมายอยูํ ๓ ประการ คือ ๑) การทํองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecological Tourism) เป็นแหลํงทํองเที่ยวเชิงนิเวศวิทยา ทาให๎เกิดรายได๎ภายชุมชนและเป็นการให๎ความรู๎แนวทางการอนุรักษ๑ทรัพยากรธรรมชาติ ๒) การพัฒนาระบบนิเวศยั่งยืน (Sustainable Ecological Development) รักษาธรรมชาติ สิ่งแวดล๎อม ไมํทิ้งขยะมูลฝอย เศษอาหารหรือการทาลายขนบธรรมเนียมประเพณีท๎องถิ่นที่มีตํอธรรมชาติ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตํอชุมชนและธรรมชาติ และ ๓) สุขภาวะเชิงพุทธ (Buddhist Health) การสร๎างความสมดุลระหวำงมนุษย๑กับธรรมชาติ เพื่อให๎เกิดความสุขอันเป็นความรูปทางด๎านรำงกาย จิตใจและสติป๓ญญาและเป็น“การจัดการทรัพยากรกับการสร๎างสุขภาวะที่ยั่งยืน (Resource Management and Making Sustainable Health)” ดังนั้น การจัดการทรัพยากรธรรมชาติกับการสร๎างสุขภาวะชุมชนตามวิถีพุทธถือได๎วำเป็นแนวสร๎างความสมดุลตํอบุคคล ชุมชน สังคมและประเทศชาติ โดยการตระหนักถึงคุณคำและสร๎างจิตสานึกตํอธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อมในชุมชนจากภูมิป๓ญญาของบรรพบุรุษที่สร๎างรูปแบบการดาเนินกิจกกรมจนกลายวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามในชุมชน
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/496
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-033 นายสมจันทร์ ศรีปรัชยานนท์.pdf5.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.